ฟุตบอลโลก 2002

ฟุตบอลโลก 2002 (2002 FIFA World Cup Korea/Japan) จัดขึ้นในเกาหลีใต้และญี่ปุ่น ในวันที่ 31 พฤษภาคม ถึงวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2545 เป็นการแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 17 และเป็นครั้งแรกที่มีเจ้าภาพ 2 ประเทศ ซึ่งทำให้ทีมชาติเกาหลีใต้และทีมชาติญี่ปุ่นเข้าไปเล่นในฟุตบอลโลกโดยอัตโนมัติเช่นเดียวกับทีมชาติฝรั่งเศสที่ชนะเลิศฟุตบอลโลก 1998 และนับเป็นการแข่งขันครั้งแรกที่จัดขึ้นในทวีปเอเชีย

ฟุตบอลโลก 2002
2002 FIFA 월드컵 한국/일본
2002 FIFA Woldeu Keob Hanguk/Ilbon
2002 FIFAワールドカップ 韓国/日本
2002 FIFA Waarudo Kappu Kankoku/Nihon
ไฟล์:2002 Football World Cup logo.png
สัญลักษณ์ฟุตบอลโลก 2002 อย่างเป็นทางการ
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพเกาหลีใต้
ญี่ปุ่น
วันที่31 พฤษภาคม-30 มิถุนายน
ทีม32 (จาก 5 สมาพันธ์)
สถานที่20 (ใน 20 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติบราซิล บราซิล (สมัยที่ 5)
รองชนะเลิศธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
อันดับที่ 3ธงชาติตุรกี ตุรกี
อันดับที่ 4ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน64
จำนวนประตู161 (2.52 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม2,705,134 (42,268 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดบราซิล โรนัลโด (8 ประตู)[1]
ผู้เล่นยอดเยี่ยมเยอรมนี โอลิเวอร์ คาห์น
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมเยอรมนี โอลิเวอร์ คาห์น
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยมสหรัฐ แลนดอน โดโนแวน
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม
1998
2006

ในการแข่งขันนี้ทีมชาติบราซิลชนะเยอรมนี 2-0 ในนัดชิงชนะเลิศ

รายชื่อประเทศที่เข้ารอบ

สนามแข่งขัน

เกาหลีใต้
โซลแทกูปูซานอินช็อนอุลซัน
โซลเวิลด์คัปสเตเดียม
ความจุ: 63,961[2]
Group/Knock-out
แทกูเวิลด์คัปสเตเดียม
ความจุ: 68,014[3]
Group/Knock-out/third place
ปูซานเอซีแอดเมนสเตเดียม
ความจุ: 55,982[4]
Group
อินช็อนมูนฮักสเตเดียม
ความจุ: 52,179[5]
Group
อุลซันมุนซูฟุตบอลสเตเดียม
ความจุ: 43,550[6]
Group/Knock-out
ซูว็อนควังจูช็อนจูแทจ็อนซอกวีโพ
ซูวอนเวิลด์คัพสเตเดียม
ความจุ: 43,188[7]
Group/Knock-out
ควังจูเวิลด์คัพสเตเดียม
ความจุ: 42,880[8]
Group/Knock-out
ชอนจูเวิลด์คัพสเตเดียม
ความจุ: 42,391[9]
Group/Knock-out
แทจ็อนเวิลด์คัพสเตเดียม
ความจุ: 40,407[10]
Group/Knock-out
เชจูเวิลด์คัพสเตเดียม
ความจุ: 42,256[11]
Group/Knock-out
ญี่ปุ่น
โยโกฮามะไซตามะฟูกูโรอิโอซากะริฟุ
สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ
ความจุ: 70,000[12]
Group/Knock-out/Final
สนามกีฬาไซตามะ 2002
ความจุ: 63,000[13]
Group/Knock-out
ชิซูโอกะสเตเดียม
ความจุ: 50,600[14]
Group/Knock-out
นากาอิสเตเดี้ยม
ความจุ: 50,000[15]
Group/Knock-out
มิยางิสเตเดียม
ความจุ: 49,000[16]
Group/Knock-out
โออิตะนีงาตะคาชิมะโคเบะซัปโปโระ
โออิตะสเตเดียม
ความจุ: 43,000[17]
Group/Knock-out
นีงาตะสเตเดียม
ความจุ: 42,300[18]
Group/Knock-out
คะชิมะซอกเกอร์สเตเดียม
ความจุ: 42,000[19]
Group
โคเบะวิงสเตเดียม
ความจุ: 42,000[20]
Group/Knock-out
ซัปโปโระโดม
ความจุ: 42,000[21]
Group

รอบแบ่งกลุ่ม

กลุ่ม เอ

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  เดนมาร์ก321052+37ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2  เซเนกัล312054+15
3  อุรุกวัย302145−12
4  ฝรั่งเศส301203−31

กลุ่ม บี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  สเปน330094+59ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2  ปารากวัย31116604
3  แอฟริกาใต้31115504
4  สโลวีเนีย300327−50

กลุ่ม ซี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  บราซิล3300113+89ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2  ตุรกี311153+24
3  คอสตาริกา311156−14
4  จีน300309−90

กลุ่ม ดี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  เกาหลีใต้ (H)321041+37ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2  สหรัฐ311156−14
3  โปรตุเกส310264+23
4  โปแลนด์310237−43

กลุ่ม อี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  เยอรมนี3210111+107ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2  สาธารณรัฐไอร์แลนด์312052+35
3  แคเมอรูน311123−14
4  ซาอุดีอาระเบีย3003012−120

กลุ่ม เอฟ

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  สวีเดน312043+15ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2  อังกฤษ312021+15
3  อาร์เจนตินา31112204
4  ไนจีเรีย301213−21

กลุ่ม จี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  เม็กซิโก321042+27ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2  อิตาลี311143+14
3  โครเอเชีย310223−13
4  เอกวาดอร์310224−23

กลุ่ม เอช

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  ญี่ปุ่น (H)321052+37ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2  เบลเยียม312065+15
3  รัสเซีย31024403
4  ตูนิเซีย301215−41

รอบแพ้คัดออก

รอบ 16 ทีมรอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
              
29 มิถุนายน - นีงาตะ      
   เดนมาร์ก 0
6 กรกฎาคม - ฟูกูโรอิ
   อังกฤษ 3 
   อังกฤษ 1
1 กรกฎาคม - โคเบะ
    บราซิล 2 
   บราซิล 2
10 กรกฎาคม - ไซตามะ
   เบลเยียม 0 
   บราซิล 1
30 มิถุนายน - โออิตะ
    ตุรกี 0 
   สวีเดน 1
7 กรกฎาคม - โอซากะ
   เซเนกัล (aet) 2 
   เซเนกัล 0
2 กรกฎาคม - ริฟุ
    ตุรกี (aet) 1 
   ญี่ปุ่น 0
14 กรกฎาคม - โยโกฮามะ
   ตุรกี 1 
   บราซิล 2
30 มิถุนายน - ซูว็อน
    เยอรมนี 0
   สเปน (pen) 1 (3)
7 กรกฎาคม - ควังจู
   ไอร์แลนด์ 1 (2) 
   สเปน 0 (3)
2 กรกฎาคม - แทจ็อน
    เกาหลีใต้ (pen) 0 (5) 
   เกาหลีใต้ (aet) 2
9 กรกฎาคม - โซล
   อิตาลี 1 
   เกาหลีใต้ 0
29 มิถุนายน - เชจู
    เยอรมนี 1 อันดับที่ 3
   เยอรมนี 1
6 กรกฎาคม - อุลซัน13 กรกฎาคม - แทกู
   ปารากวัย 0 
   เยอรมนี 1   ตุรกี 3
1 กรกฎาคม - ช็อนจู
    สหรัฐ 0    เกาหลีใต้ 2
   เม็กซิโก 0
   สหรัฐ 2 

ผู้ทำประตู

อ้างอิง

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง