ฟุตบอลโลก 2018

ฟุตบอลโลก 2018 (อังกฤษ: 2018 FIFA World Cup; รัสเซีย: Чемпионат мира по футболу 2018) เป็นการแข่งขันกีฬาฟุตบอลโลก ที่จัดขึ้นในปี ค.ศ. 2018 (พ.ศ. 2561) โดยประเทศรัสเซียเป็นเจ้าภาพ นับเป็นการจัดครั้งแรกของรัสเซียและยุโรปตะวันออก และเป็นครั้งแรกที่ประเทศเจ้าภาพคาบเกี่ยวระหว่างสองทวีป คือ ยุโรปกับเอเชีย โดยการประกาศประเทศเจ้าภาพอย่างเป็นทางการมีขึ้นในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ณ นครซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมกับการประกาศประเทศเจ้าภาพ ปี 2022

ฟุตบอลโลก 2018
Чемпионат мира по футболу 2018
Chempionat mira po futbolu FIFA 2018
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพรัสเซีย
วันที่14 มิถุนายน - 15 กรกฎาคม ค.ศ. 2018
ทีม32 (จาก 5 สมาพันธ์)
สถานที่12 (ใน 11 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย
อันดับที่ 3ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม
อันดับที่ 4ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน64
จำนวนประตู169 (2.64 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม3,031,768 (47,371 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดอังกฤษ แฮร์รี เคน (6 ประตู)[1]
ผู้เล่นยอดเยี่ยมโครเอเชีย ลูคา มอดริช[1]
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมเบลเยียม ตีโบ กูร์ตัว[1]
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยมฝรั่งเศส กีลียาน อึมบาเป[1]
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติสเปน สเปน[1][2]
2014
2022

คณะกรรมการจัดการแข่งขันของรัสเซียได้เตรียมการในการสร้างสนามฟุตบอลใหม่ถึง 9 แห่ง รวมกับสนามที่มีอยู่เดิม 7 แห่ง โดยมีสนามลุจนีกีเป็นสนามที่มีความจุมากที่สุด คือ 89,318 ที่นั่ง นอกจากนี้ สนามกีฬาโอลิมปิกโซชีที่สร้างเพื่อใช้ในพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูหนาว 2014 จะเป็นหนึ่งในสนามแข่งขันในฟุตบอลโลกครั้งนี้ด้วย

การคัดเลือกเจ้าภาพ

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลก 2018
(เสียงข้างมาก คือ 12 เสียง)
ประเทศคะแนนเสียง
รอบ 1รอบ 2
รัสเซีย913
/ โปรตุเกส/สเปน77
/ เบลเยี่ยม/เนเธอร์แลนด์42
อังกฤษ2
  • ทีมที่เข้าร่วมอย่างเป็นทางการ

ทีมที่เข้าร่วม

รอบคัดเลือก

การจับสลาก

การจับสลากแบ่งกลุ่มรอบสุดท้ายของฟุตบอลโลก 2018 กำหนดจัดขึ้นที่ศูนย์การประชุมสเตทเครมลินพาเลซ ภายในเขตเครมลิน กรุงมอสโก ในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2560[3]ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้ายทั้งหมดจะได้รับการจับสลาก โดยแบ่งเป็นแปดกลุ่ม กลุ่มละสี่ทีม โดยมีทีมในโถจับสลากดังนี้ (ตัวเลขหลังชื่อประเทศคืออันดับฟีฟ่า ณ เดือนตุลาคม 2560)

โถที่ 1โถที่ 2โถที่ 3โถที่ 4

 รัสเซีย (65) (เจ้าภาพ)
 เยอรมนี (1)
 บราซิล (2)
 โปรตุเกส (3)
 อาร์เจนตินา (4)
 เบลเยียม (5)
 โปแลนด์ (6)
 ฝรั่งเศส (7)

 สเปน (8)
 เปรู (10)
 สวิตเซอร์แลนด์ (11)
 อังกฤษ (12)
 โคลอมเบีย (13)
 เม็กซิโก (16)
 อุรุกวัย (17)
 โครเอเชีย (18)

 เดนมาร์ก (19)
 ไอซ์แลนด์ (21)
 คอสตาริกา (22)
 สวีเดน (25)
 ตูนิเซีย (28)
 อียิปต์ (30)
 เซเนกัล (32)
 อิหร่าน (34)

 เซอร์เบีย (38)
 ไนจีเรีย (41)
 ออสเตรเลีย (43)
 ญี่ปุ่น (44)
 โมร็อกโก (48)
 ปานามา (49)
 เกาหลีใต้ (62)
 ซาอุดีอาระเบีย (63)

ผู้เล่น

แต่ละทีมต้องส่งรายชื่อผู้เล่นเบื้องต้นในรอบแรก 30 คน จากนั้นส่งรายชื่อ 23 คนสุดท้ายจากรายชื่อผู้เล่นเบื้องต้น (ต้องมีผู้รักษาประตู 3 คน) ในการแข่งขันฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2017 ระหว่างวันที่ 17 มิถุนายน จนถึง 2 กรกฎาคม ค.ศ. 2017 เป็นการเล่นประเดิมก่อนฟุตบอลโลก 2018 ทีมจะต้องส่งรายชื่อผู้เล่น 23 คน (โดยต้องมีผู้เล่นตำแหน่งผู้รักษาประตู 3 คน) หากมีผู้เล่นที่ได้รับบาดเจ็บหรือเหตุผลอื่นที่ทำให้ไม่สามารถเข้าร่วมแข่งขันได้ สามารถที่จะเปลี่ยนตัวผู้เล่นได้ภายใน 24 ชั่วโมง ก่อนที่จะแข่งขันนัดแรก ซึ่งไม่จำเป็นต้องอยู่ในรายชื่อผู้เล่นเบื้องต้น[4]

สำหรับผู้เล่นเบื้องต้น 30 คน จะต้องมีเวลาเหลืออยู่ในช่วงระหว่างวันที่ 21 และ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 2018 ยกเว้นผู้เล่นที่เกี่ยวข้องในการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2018 ที่จะเล่นในวันที่ 26 พฤษภาคม[5]

ผู้ตัดสิน

ในเดือนพฤศจิกายน 2560, รายชื่อของผู้ตัดสินที่ถูกเลือกเพื่อดูแลแต่ละนัดได้ถูกปล่อยออกมาแล้ว.[6]

สนามแข่งขัน

มอสโกเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กโซชี
สนามกีฬาลุจนีกีออตครืยตีเย-อะเรนา
(สนามกีฬาสปาร์ตัค)
สนามกีฬาเครสตอฟสกี
(สนามกีฬาเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก)
สนามกีฬาโอลิมปิกฟิชต์
(สนามกีฬาฟิชต์)
ความจุ : 81,000 ที่นั่งความจุ : 45,360 ที่นั่งความจุ : 68,134 ที่นั่งความจุ : 47,659 ที่นั่ง
ซามาราคาซาน
ซามาราอะเรนา
(คอสมอสอะเรนา)
คาซานอะเรนา
ความจุ : 44,918 ที่นั่งความจุ : 45,379
รอสตอฟ-นา-โดนูวอลโกกราด
รอสตอฟอะเรนาวอลโกกราดอะเรนา
ความจุ : 45,000 ที่นั่งความจุ : 45,568 ที่นั่ง
นิจนีนอฟโกรอดซารันสค์เยคาเตรินบุร์กคาลีนินกราด
สนามกีฬานิจนีนอฟโกรอดมอร์โดวียาอะเรนาสนามกีฬากลาง
(เยคาเตรินบุร์กอะเรนา)
สนามกีฬาคาลีนินกราด
ความจุ : 44,899 ที่นั่งความจุ : 44,442 ที่นั่งความจุ : 35,696 ที่นั่งความจุ : 35,212 ที่นั่ง

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ สนามการแข่งขันฟุตบอลโลก 2018

รอบแบ่งกลุ่ม

เวลาทั้งหมดที่ระบุข้างล่างนี้เป็นเวลาท้องถิ่น[7]

กลุ่มเอ

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  อุรุกวัย330050+59ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2  รัสเซีย (H)320184+46
3  ซาอุดีอาระเบีย310227−53
4  อียิปต์300326−40
รัสเซีย  5–0  ซาอุดีอาระเบีย
กาซินสกี  12'
เชรืยเชฟ  43'90+1'
ดซูย์บา  71'
โกโลวิน  90+4'
รายงาน
ผู้ชม: 78,011 คน[8]
ผู้ตัดสิน: เนสตอร์ ปิตานา (อาร์เจนตินา)
อียิปต์  0–1  อุรุกวัย
รายงานฆิเมเนซ  89'
ผู้ชม: 27,015 คน[9]
ผู้ตัดสิน: บีเยิร์น เกยเปิร์ส (เนเธอร์แลนด์)

รัสเซีย  3–1  อียิปต์
ฟัตฮี  47' (เข้าประตูตัวเอง)
เชรืยเชฟ  59'
ดซูย์บา  62'
รายงานเศาะลาห์  73' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 64,468 คน[10]
ผู้ตัดสิน: เอนรีเก กาเซเรส (ปารากวัย)
อุรุกวัย  1–0  ซาอุดีอาระเบีย
ซัวเรซ  23'รายงาน
ผู้ชม: 42,678 คน[11]
ผู้ตัดสิน: แกลม็องต์ ตูร์แป็ง (ฝรั่งเศส)

อุรุกวัย  3–0  รัสเซีย
ซัวเรซ  10'
เชรืยเชฟ  23' (เข้าประตูตัวเอง)
กาบานิ  90'
รายงาน
คอสมอสอะเรนา, ซามารา
ผู้ชม: 41,970 คน[12]
ผู้ตัดสิน: มาล็องก์ ดีเยดียู (เซเนกัล)
ซาอุดีอาระเบีย  2–1  อียิปต์
อัลฟะร็อจญ์  45+6' (ลูกโทษ)
อัดเดาซะรี  90+5'
รายงานเศาะลาห์  22'
ผู้ชม: 36,823 คน[13]
ผู้ตัดสิน: วิลมาร์ โรลดัน (โคลอมเบีย)

กลุ่มบี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  สเปน312065+15ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2  โปรตุเกส312054+15
3  อิหร่าน31112204
4  โมร็อกโก301224−21
โมร็อกโก  0–1  อิหร่าน
รายงานบูฮัดดูซ  90+5' (เข้าประตูตัวเอง)
ผู้ชม: 62,548 คน[14]
ผู้ตัดสิน: จือเนย์ท ชาคืร์ (ตุรกี)
โปรตุเกส  3–3  สเปน
โรนัลโด  4' (ลูกโทษ)44'88'รายงานโกสตา  24'55'
นาโช  58'
ผู้ชม: 43,866 คน[15]
ผู้ตัดสิน: จันลูกา รอคคี (อิตาลี)

โปรตุเกส  1–0  โมร็อกโก
โรนัลโด  4'รายงาน
ผู้ชม: 78,011 คน[16]
ผู้ตัดสิน: มาร์ค เกยเกอร์ (สหรัฐ)
อิหร่าน  0–1  สเปน
รายงานโกสตา  54'
ผู้ชม: 42,718 คน[17]
ผู้ตัดสิน: แอนเดรส คุนญา (อุรุกวัย)

อิหร่าน  1–1  โปรตุเกส
แอนซอรีแฟร์ด  90+4' (ลูกโทษ)รายงานกวาแรฌมา  45'
ผู้ชม: 41,685 คน[18]
ผู้ตัดสิน: เอนริเก กาเซเรส (ปารากวัย)
สเปน  2–2  โมร็อกโก
อิสโก  19'
อัสปัส  90+1'
รายงานบูเฏาะอีบ  14'
อันนะศีรี  81'
ผู้ชม: 33,973 คน[19]
ผู้ตัดสิน: รัฟชัน อีร์มาตอฟ (อุซเบกิสถาน)

กลุ่มซี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  ฝรั่งเศส321031+27ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2  เดนมาร์ก312021+15
3  เปรู31022203
4  ออสเตรเลีย301225−31
ฝรั่งเศส  2–1  ออสเตรเลีย
กรีแยซมาน  58' (ลูกโทษ)
เบอิช  81' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงานเยดีนัก  62' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 41,279 คน[20]
ผู้ตัดสิน: อันเดรส กุญญา (อุรุกวัย)
เปรู  0–1  เดนมาร์ก
รายงานพออุลเซิน  59'
ผู้ชม: 40,502 คน[21]
ผู้ตัดสิน: บาคารี กัสซามา (แกมเบีย)

เดนมาร์ก  1–1  ออสเตรเลีย
เอริกเซน  7'รายงานเยดีนัก  38' (ลูกโทษ)
คอสมอสอะเรนา, ซามารา
ผู้ชม: 40,727 คน[22]
ผู้ตัดสิน: อันโตนิโอ มาเตอู ลาโฮซ (สเปน)
ฝรั่งเศส  1–0  เปรู
อึมบาเป  34'รายงาน
ผู้ชม: 32,789 คน[23]
ผู้ตัดสิน: โมฮัมเหม็ด อับดุลลา ฮัสซัน โมฮาเหม็ด (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)

เดนมาร์ก  0–0  ฝรั่งเศส
รายงาน
ผู้ชม: 78,011 คน[24]
ผู้ตัดสิน: ซังดรู รีชี (บราซิล)
ออสเตรเลีย  0–2  เปรู
รายงานการ์ริโย  18'
เกร์เรโร  50'
ผู้ชม: 44,073 คน[25]
ผู้ตัดสิน: เซอร์ไก คาราเซฟ (รัสเซีย)

กลุ่มดี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  โครเอเชีย330071+69ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2  อาร์เจนตินา311135−24
3  ไนจีเรีย310234−13
4  ไอซ์แลนด์301225−31
อาร์เจนตินา  1–1  ไอซ์แลนด์
อาเกวโร  19'รายงานฟินปอกาซอน  23'
ผู้ชม: 44,190 คน[26]
ผู้ตัดสิน: ชือมอน มาร์ชีเนียค (โปแลนด์)
โครเอเชีย  2–0  ไนจีเรีย
เอเตโบ  32' (เข้าประตูตัวเอง)
มอดริช  71' (ลูกโทษ)
รายงาน
ผู้ชม: 31,136 คน[27]
ผู้ตัดสิน: ซังดรู รีชี (บราซิล)

อาร์เจนตินา  0–3  โครเอเชีย
รายงานเรบิช  53'
มอดริช  80'
ราคิทิช  90+1'
ผู้ชม: 43,319 คน[28]
ผู้ตัดสิน: รัฟชัน อีร์มาตอฟ (อุซเบกิสถาน)
ไนจีเรีย  2–0  ไอซ์แลนด์
มูซา  49'75'รายงาน
ผู้ชม: 40,904 คน[29]
ผู้ตัดสิน: แมทธิว คอนเกอร์ (นิวซีแลนด์)

ไอซ์แลนด์  1–2  โครเอเชีย
ก. ซีกืร์ดซอน  76' (ลูกโทษ)รายงานบาเด็ลย์  53'
เพริชิช  90'
ผู้ชม: 43,472 คน[31]
ผู้ตัดสิน: อันโตนิโอ มาเตอู ลาโฮซ (สเปน)

กลุ่มอี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  บราซิล321051+47ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2  สวิตเซอร์แลนด์312054+15
3  เซอร์เบีย310224−23
4  คอสตาริกา301225−31
คอสตาริกา  0–1  เซอร์เบีย
รายงานคอลาร็อฟ  56'
คอสมอสอะเรนา, ซามารา
ผู้ชม: 41,432 คน[32]
ผู้ตัดสิน: มาล็องก์ ดีเยดียู (เซเนกัล)
บราซิล  1–1  สวิตเซอร์แลนด์
โกชิญญู  20'รายงานซูเบอร์  50'
ผู้ชม: 43,109 คน[33]
ผู้ตัดสิน: เซซาร์ อาร์ตูโร ราโมส (เม็กซิโก)

บราซิล  2–0  คอสตาริกา
โกชิญญู  90+1'
เนย์มาร์  90+7'
รายงาน
ผู้ชม: 64,468 คน[34]
ผู้ตัดสิน: บีเยิร์น เกยเปิร์ส (เนเธอร์แลนด์)

เซอร์เบีย  0–2  บราซิล
รายงานเปาลิญญู  36'
ชียากู ซิลวา  68'
ผู้ชม: 44,190 คน[36]
ผู้ตัดสิน: อาลีเรซา ฟากานี (อิหร่าน)
สวิตเซอร์แลนด์  2–2  คอสตาริกา
เจไมลี  31'
เดอร์มิช  88'
รายงานวัสตอน  56'
ซ็อมเมอร์  90+3' (เข้าประตูตัวเอง)
ผู้ชม: 43,319 คน[37]
ผู้ตัดสิน: แกลม็องต์ ตูร์แป็ง (ฝรั่งเศส)

กลุ่มเอฟ

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  สวีเดน320152+36ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2  เม็กซิโก320134−16
3  เกาหลีใต้31023303
4  เยอรมนี310224−23
เยอรมนี  0–1  เม็กซิโก
รายงานโลซาโน  35'
ผู้ชม: 78,011 คน[38]
ผู้ตัดสิน: อาลีเรซา ฟากานี (อิหร่าน)
สวีเดน  1–0  เกาหลีใต้
กรอนกวิสต์  65' (ลูกโทษ)รายงาน
ผู้ชม: 42,300 คน[39]
ผู้ตัดสิน: โฮเอล อากิลาร์ (เอลซัลวาดอร์)

เยอรมนี  2–1  สวีเดน
ร็อยส์  48'
โครส  90+5'
รายงานท็อยวอเนิน  32'
ผู้ชม: 44,287 คน[41]
ผู้ตัดสิน: ชือมอน มาร์ชีเนียก (โปแลนด์)

เกาหลีใต้  2–0  เยอรมนี
คิม ย็อง-กว็อน  90+3'
ซน ฮึง-มิน  90+6'
รายงาน
ผู้ชม: 41,385 คน[42]
ผู้ตัดสิน: มาร์ค เกยเกอร์ (สหรัฐ)
เม็กซิโก  0–3  สวีเดน
รายงานเอากุสตินซอน  50'
กรอนกวิสต์  61' (ลูกโทษ)
อัลบาเรซ  74' (เข้าประตูตัวเอง)
ผู้ชม: 33,061 คน[43]
ผู้ตัดสิน: เนสตอร์ ปิตานา (อาร์เจนตินา)

กลุ่มจี

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  เบลเยียม330092+79ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2  อังกฤษ320183+56
3  ตูนิเซีย310258−33
4  ปานามา3003211−90
เบลเยียม  3–0  ปานามา
แมร์เตินส์  47'
ลูกากู  69'75'
รายงาน
ผู้ชม: 43,257 คน[44]
ผู้ตัดสิน: จันนี ซีคัซเว (แซมเบีย)
ตูนิเซีย  1–2  อังกฤษ
ซาสซี  35' (ลูกโทษ)รายงานเคน  11'90+1'
ผู้ชม: 41,064 คน[45]
ผู้ตัดสิน: วิลมาร์ โรลดัน (โคลอมเบีย)

เบลเยียม  5–2  ตูนิเซีย
เอ. อาซาร์  6' (ลูกโทษ)51'
ลูกากู  16'45+3'
บัตชัวยี  90'
รายงานบรอน  18'
ค็อซรี  90+3'
ผู้ชม: 44,190 คน[46]
ผู้ตัดสิน: แจร์ มาร์รูโฟ (สหรัฐ)
อังกฤษ  6–1  ปานามา
สโตนส์  8'40'
เคน  22' (ลูกโทษ)45+1' (ลูกโทษ)62'
ลินการ์ด  36'
รายงานบาลอย  78'
ผู้ชม: 43,319 คน[47]
ผู้ตัดสิน: เกฮัด กริชา (อียิปต์)

อังกฤษ  0–1  เบลเยียม
รายงานยานูไซ  51'
ผู้ชม: 33,973 คน[48]
ผู้ตัดสิน: ดามิร์ สคอมินา (สโลวีเนีย)
ปานามา  1–2  ตูนิเซีย
มัรยาห์  33' (เข้าประตูตัวเอง)รายงานฟ. บิน ยูซุฟ  51'
ค็อซรี  66'
ผู้ชม: 37,168 คน[49]
ผู้ตัดสิน: นะวัฟ ชุครัลลา (บาห์เรน)

กลุ่มเอช

อันดับทีมเล่นชนะเสมอแพ้ได้เสียต่างคะแนนการผ่านเข้ารอบ
1  โคลอมเบีย320152+36ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2  ญี่ปุ่น31114404[a]
3  เซเนกัล31114404[a]
4  โปแลนด์310225−33
โคลอมเบีย  1–2  ญี่ปุ่น
กินเตโร  39'รายงานคางาวะ  6' (ลูกโทษ)
โอซาโกะ  73'
ผู้ชม: 40,842 คน[50]
ผู้ตัดสิน: ดามีร์ สคอมีนา (สโลวีเนีย)
โปแลนด์  1–2  เซเนกัล
กรือคอเวียก  86'รายงานชอแนก  37' (เข้าประตูตัวเอง)
นีย็องก์  60'
ผู้ชม: 44,190 คน[51]
ผู้ตัดสิน: นะวัฟ ชูครัลลา (บาห์เรน)

ญี่ปุ่น  2–2  เซเนกัล
อินูอิ  34'
ฮนดะ  78'
รายงานมาเน  11'
วาเก  71'
ผู้ชม: 32,572 คน[52]
ผู้ตัดสิน: จันลูกา รอคคี (อิตาลี)
โปแลนด์  0–3  โคลอมเบีย
รายงานมินา  40'
ฟัลกาโอ  70'
ฮ. กัวดราโด  75'
ผู้ชม: 42,873 คน[53]
ผู้ตัดสิน: เซซาร์ อาร์ตูโร ราโมส (เม็กซิโก)

ญี่ปุ่น  0–1  โปแลนด์
รายงานแบดนาแร็ก  59'
ผู้ชม: 42,189 คน[54]
ผู้ตัดสิน: จันนี ซิคัซเว (แซมเบีย)
เซเนกัล  0–1  โคลอมเบีย
รายงานมินา  74'
คอสมอสอะเรนา, ซามารา
ผู้ชม: 41,970 คน[55]
ผู้ตัดสิน: มิโลรัด มาชิช (เซอร์เบีย)

รอบแพ้คัดออก

สายการแข่งขัน

 
รอบ 16 ทีมรอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
              
 
30 มิถุนายน – โซชี
 
 
 อุรุกวัย2
 
6 กรกฎาคม – นิจนีนอฟโกรอด
 
 โปรตุเกส1
 
 อุรุกวัย0
 
30 มิถุนายน – คาซาน
 
 ฝรั่งเศส2
 
 ฝรั่งเศส4
 
10 กรกฎาคม – เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก
 
 อาร์เจนตินา3
 
 ฝรั่งเศส1
 
2 กรกฎาคม – ซามารา
 
 เบลเยียม0
 
 บราซิล2
 
6 กรกฎาคม – คาซาน
 
 เม็กซิโก0
 
 บราซิล1
 
2 กรกฎาคม – รอสตอฟ-นา-โดนู
 
 เบลเยียม2
 
 เบลเยียม3
 
15 กรกฎาคม – มอสโก (ลุจนีกี)
 
 ญี่ปุ่น2
 
 ฝรั่งเศส4
 
1 กรกฎาคม – มอสโก (ลุจนีกี)
 
 โครเอเชีย2
 
 สเปน1 (3)
 
7 กรกฎาคม – โซชี
 
 รัสเซีย (ลูกโทษ)1 (4)
 
 รัสเซีย2 (3)
 
1 กรกฎาคม – นิจนีนอฟโกรอด
 
 โครเอเชีย (ลูกโทษ)2 (4)
 
 โครเอเชีย (ลูกโทษ)1 (3)
 
11 กรกฎาคม – มอสโก (ลุจนีกี)
 
 เดนมาร์ก1 (2)
 
 โครเอเชีย (หลังต่อเวลาพิเศษ)2
 
3 กรกฎาคม – เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก
 
 อังกฤษ1อันดับที่ 3
 
 สวีเดน1
 
7 กรกฎาคม – ซามารา14 กรกฎาคม – เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก
 
 สวิตเซอร์แลนด์0
 
 สวีเดน0  เบลเยียม2
 
3 กรกฎาคม – มอสโก (ออตครืยตีเย)
 
 อังกฤษ2  อังกฤษ0
 
 โคลอมเบีย1 (3)
 
 
 อังกฤษ (ลูกโทษ)1 (4)
 

รอบ 16 ทีม

ฝรั่งเศส  4–3  อาร์เจนตินา
กรีแยซมาน  13' (ลูกโทษ)
ปาวาร์  57'
อึมบาเป  64'68'
รายงานดิ มาริอา  41'
เมร์กาโด  48'
อาเกวโร  90+3'
ผู้ชม: 42,873 คน[56]
ผู้ตัดสิน: อาลีเรซา ฟากานี (อิหร่าน)

อุรุกวัย  2–1  โปรตุเกส
กาบานิ  7'62'รายงานเปปี  55'
ผู้ชม: 44,287 คน[57]
ผู้ตัดสิน: เซซาร์ อาร์ตูโร ราโมส (เม็กซิโก)


โครเอเชีย  1–1 (ต่อเวลาพิเศษ)  เดนมาร์ก
มันจูคิช  4'รายงานม. เยอร์เอินเซิน  1'
ลูกโทษ
บาเด็ลย์
ครามาริช
มอดริช
พิวาริช
ราคิทิช
3–2 เอริกเซน
แคร์
โครน-เตลี
เชอเนอ
น. เยอร์เอินเซิน
ผู้ชม: 40,851 คน[59]
ผู้ตัดสิน: เนสโตร์ ปิตานา (อาร์เจนตินา)

บราซิล  2–0  เม็กซิโก
เนย์มาร์  51'
ฟีร์มีนู  88'
รายงาน
คอสมอสอะเรนา, ซามารา
ผู้ชม: 41,970 คน[60]
ผู้ตัดสิน: จันลูกา รอคคี (อิตาลี)



รอบก่อนรองชนะเลิศ


บราซิล  1–2  เบลเยียม
เรนาตู เอากุสตู  76'รายงานเฟร์นังจิญญู  13' (เข้าประตูตัวเอง)
เดอ เบรยเนอ  31'
ผู้ชม: 42,873 คน[65]
ผู้ตัดสิน: มิโลรัด มาชิช (เซอร์เบีย)

สวีเดน  0–2  อังกฤษ
รายงานแมไกวร์  30'
แอลลี  59'
คอสมอสอะเรนา, ซามารา
ผู้ชม: 39,991 คน[66]
ผู้ตัดสิน: บีเยิร์น เกยเปิร์ส (เนเธอร์แลนด์)

รอบรองชนะเลิศ


นัดชิงอันดับ 3

เบลเยียม  2–0  อังกฤษ
เมอนีเย  4'
เอ. อาซาร์  82'
รายงาน
ผู้ชม: 64,406 คน[70]
ผู้ตัดสิน: อาลีเรซา ฟากานี (อิหร่าน)

รอบชิงชนะเลิศ

ฝรั่งเศส  4–2  โครเอเชีย
มันจูคิช  19' (เข้าประตูตัวเอง)
กรีแยซมาน  38' (ลูกโทษ)
ปอกบา  59'
อึมบาเป  65'
รายงานเพริชิช  29'
มันจูคิช  69'
ผู้ชม: 78,011 คน[71]
ผู้ตัดสิน: เนสโตร์ ปิตานา (อาร์เจนตินา)

สถิติ

ผู้ทำประตู

การแข่งขันทั้งหมดมี 169 ประตูที่ทำได้ใน 64 นัด สำหรับค่าเฉลี่ย 2.64 ประตูต่อนัด ผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน

6 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง

แหล่งที่มา: ฟีฟ่า[72]

รางวัล

รางวัลด้านล่างนี้ได้มอบให้หลังได้บทสรุปของการแข่งขัน. รางวัลรองเท้าทองคำ, ลูกบอลทองคำ และ ถุงมือทองคำ ได้รับการสนับสนุนจาก อาดิดาส.[1]

ลูกบอลทองคำลูกบอลเงินลูกบอลทองแดง
ลูคา มอดริช เอแดน อาซาร์ อ็องตวน กรีแยซมาน
รองเท้าทองคำรองเท้าเงินรองเท้าทองแดง
แฮร์รี เคน อ็องตวน กรีแยซมาน โรเมลู ลูกากู
6 ประตู, 0 แอสซิสต์4 ประตู, 2 แอสซิสต์4 ประตู, 1 แอสซิสต์
ถุงมือทองคำ
ตีโบ กูร์ตัว
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยม
กีลียาน อึมบาเป
รางวัลฟีฟ่าแฟร์เพลย์
 สเปน

เงินรางวัล

จำนวนเงินรางวัลได้ถูกประกาศออกมาในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2017.[73]

ตำแหน่งจำนวนเงินรางวัล (ล้านยูเอสดอลลาร์)
ต่อทีมทั้งหมด
ชนะเลิศ3838
รองชนะเลิศ2828
อันดับ 32424
อันดับ 42222
อันดับ 5–81664
อันดับ 9–161296
อันดับ 17–328128
ทั้งหมด400

การตลาด

สัญลักษณ์

โปสเตอร์

ตุ๊กตาสัญลักษณ์

ลูกฟุตบอล

ลูกฟุตบอลอย่างเป็นทางการของการแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 คือ "เทลสตาร์ 18" และขึ้นอยู่กับชื่อและดีไซน์ของครั้งแรก อาดิดาส ลูกบอลเวิลด์คัพตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970. มันถูกนำมาใช้เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 2017.[74]

สินค้าที่ระลึก

เมื่อวันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 2018, อีเอ ได้ประกาศออกมาให้เป็นเกมฟรี ขยาย สำหรับ ฟีฟ่า 18 ขึ้นอยู่กับฟุตบอลโลก 2018 แสดงลักษณะทั้งหมด 32 ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้ายและทั้งหมด 12 สนามกีฬาที่ใช่ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2018[75]

เพลงประจำการแข่งขัน

เพลงประจำการแข่งขันอย่างเป็นทางการเป็น "Live It Up", จากเสียงร้องของ วิล สมิธ, นิคกี แจม และ อีรา อิสเตรฟี, ได้วางจำหน่ายไปเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม. มิวสิควีดิโอเพลงฟุตบอลโลกอย่างเป็นทางการได้ถูกปล่อยออกมาเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน.[76]

สิทธิการออกอากาศ

ในประเทศไทย พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และประธานคณะกรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทย เป็นประธานแถลงข่าว “ประเทศไทยเซ็นสัญญาคว้าลิขสิทธิ์ถ่ายทอดสดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2018” ซึ่งจะจัดการแข่งขันขึ้นระหว่างวันที่ 14 มิ.ย. - 15 ก.ค. 2561 ที่ประเทศรัสเซีย โดยความสำเร็จในครั้งนี้เกิดจากการผนึกกำลังร่วมกันระหว่างภาครัฐบาล นำโดยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาและการกีฬาแห่งประเทศไทย ร่วมด้วยภาคเอกชน 9 องค์กร ที่ร่วมลงทุนในครั้งนี้ ซึ่งการเจรจาที่ผ่านมามีความล่าช้าไปเล็กน้อย เนื่องจากคิงเพาเวอร์ ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้แทนเจรจาในตอนต้น เพิ่งได้รับแจ้งถึงนโยบายข้อกำหนดของฟีฟ่าว่า จะเจรจาและลงนามในสัญญาเฉพาะกับบริษัทผู้ประกอบธุรกิจบรอดแคสติ้งเท่านั้น ซึ่งในเวลาที่กระชั้นชิด เพื่อให้ฟีฟ่าอนุมัติได้รวดเร็ว จะต้องเป็นผู้ที่มีประสบการณ์การถ่ายทอดสดการแข่งขันกีฬาระดับโลก จึงประสานให้บริษัท ทรูวิชั่นส์ กรุ๊ป จำกัด เป็นตัวแทนประเทศไทยในการเจรจา และลงนามในสัญญา ทำให้คนในประเทศไทยสามารถรับชมการแข่งขันกีฬาฟุตบอลโลกครั้งนี้ได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ตั้งแต่รอบแรกจนถึงรอบชิงชนะเลิศ ครบทั้ง 64 แมตช์ โดยสามารถรับชมการถ่ายทอดสดผ่านทาง ทรูโฟร์ยู ช่อง 24, อมรินทร์ ทีวี ช่อง 34 และช่อง 5[77]

ผู้สนับสนุน

หุ้นส่วนกับฟีฟ่าผู้สนับสนุนฟุตบอลโลกฝ่ายสนับสนุนทางฝั่งแอฟริกาฝ่ายสนับสนุนทางฝั่งเอเชียฝ่ายสนับสนุนทางฝั่งยุโรป
  • Egypt – Experience & Invest[90]

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง