นิวฮอไรซันส์

นิวฮอไรซันส์ (อังกฤษ: New Horizons; ท. ขอบฟ้าใหม่) เป็นยานสำรวจอวกาศระหว่างดาวเคราะห์ซึ่งปล่อยเมื่อวันที่ 19 มกราคม 2549 เป็นส่วนหนึ่งของโครงการนิวฟรอนเทียส์ (New Frontiers) ของนาซา ยานสร้างโดย ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ประยุกต์และสถาบันวิจัยเซาท์เวสต์ โดยทีมซึ่งมีเอส. แอแลน สเทิร์น (S. Alan Stern) เป็นหัวหน้า ยานดังกล่าวมีภารกิจเพื่อศึกษาดาวพลูโต ดาวบริวารของมัน และแถบไคเปอร์ โดยบินผ่านระบบพลูโตและวัตถุแถบไคเปอร์ (Kuiper Belt Object) ตั้งแต่หนึ่งวัตถุขึ้นไป

นิวฮอไรซันส์
ภาพดาวเทียม นิวฮอไรซันส์
ประเภทภารกิจบินผ่าน
ดาวพฤหัส
ดาวพลูโต
2014 MU69
ผู้ดำเนินการNASA
COSPAR ID2006-001A
SATCAT no.28928
เว็บไซต์pluto.jhuapl.edu
nasa.gov/newhorizons
ระยะภารกิจภารกิจหลัก: 9.5 ปี
รวม: 18 ปี 3 เดือน 4 วัน
ข้อมูลยานอวกาศ
ผู้ผลิตAPL / SwRI
มวลขณะส่งยาน478 กิโลกรัม (1,054 ปอนด์)
มวลแห้ง401 กิโลกรัม (884 ปอนด์)
มวลบรรทุก30.4 กิโลกรัม (67 ปอนด์)
ขนาด2.2 × 2.1 × 2.7 เมตร (7.2 × 6.9 × 8.9 ฟุต)
กำลังไฟฟ้า245 วัตต์
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น19 มกราคม ค.ศ. 2006 (2006-01-19) 19:00 UTC
จรวดนำส่งAtlas V (551) AV-010
ฐานส่งCape Canaveral SLC-41
ผู้ดำเนินงานInternational Launch Services[1]
ลักษณะวงโคจร
ความเยื้อง1.41905
ความเอียง2.23014°
ลองจิจูดของจุดโหนดขึ้น225.016°
มุมของจุดใกล้ที่สุด293.445°
วันที่ใช้อ้างอิง1 มกราคม ค.ศ. 2017 (วันจูเลียน 2457754.5)[2]
บินผ่าน132524APL (โดยบังเอิญ)
เข้าใกล้สุด13 มิถุนายน ค.ศ. 2006, 04:05 UTC
ระยะทาง101,867 กิโลเมตร (63,297 ไมล์)
บินผ่านดาวพฤหัส (ใช้แรงโน้มถ่วงช่วย)
เข้าใกล้สุด28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2007, 05:43:40 UTC
ระยะทาง2,300,000 กิโลเมตร (1,400,000 ไมล์)
บินผ่านดาวพลูโต
เข้าใกล้สุด14 กรกฎาคม ค.ศ. 2015, 11:49:57 UTC
ระยะทาง12,500 กิโลเมตร (7,800 ไมล์)
บินผ่าน4869582014 MU
เข้าใกล้สุด1 มกราคม ค.ศ. 2019, 05:33:00 UTC
ระยะทาง3,500 กิโลเมตร (2,200 ไมล์)
ภารกิจเขตแดนใหม่
 

วันที่ 15 มกราคม 2558 ยานอวกาศนิวฮอไรซันส์เริ่มระยะเข้าใกล้ (approach phase) ดาวพลูโต เมื่อ 11:49 UTC ของวันที่ 14 กรกฎาคม 2558 ยานอวกาศนิวฮอไรซันส์ บินห่างจากพื้นผิวดาวพลูโต 12,500 กิโลเมตร เป็นยานอวกาศลำแรกที่สำรวจดาวพลูโต

การเดินทางของยานนิวฮอไรซันส์

วันที่เหตุการณ์หมายเหตุอ้างอิง
8 มิ.ย. พ.ศ. 2544ยานนิวฮอไรซันส์ถูกเลือกโดย NASAAfter a three month concept study before submission of the proposal, two design teams were competing: POSSE (Pluto and Outer Solar System Explorer) and New Horizons.[3]
13 มิ.ย. 2548ยานอวกาศออกมาที่ ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ประยุกต์ เพื่อทำการทดลองครั้งสุดท้ายยานอวกาศผ่านการทดสอบครั้งสุดท้ายที่ Goddard Space Flight Center (GSFC).[ต้องการอ้างอิง]
24 ก.ย. 2548ยานนิวฮอไรซันส์ไปจอดที่ศูนย์อวกาศเคนเนดี แหลมคานาเวอรัลย้ายจาก ฐานทัพอากาศแอนดรูว์ รัฐแมรี่แลนด์ โดยใช้เครื่องบินขนส่งทางทหาร C-17 Globemaster III cargo aircraft.[4]
17 ธ.ค. 2548ยานนิวฮอไรซันส์พร้อมที่จะลงตำแหน่งในจรวดTransported from Hazardous Servicing Facility to Vertical Integration Facility at Space Launch Complex 41.[ต้องการอ้างอิง]
11 ม.ค. 2549Primary launch window openedการเปิดตัวได้เกิดความล่าช้าเนื่องจากการทดสอบต่อไป[ต้องการอ้างอิง]
16 ม.ค. 2549จรวดเคลื่อนที่สู่จุดปล่อยตัวจรวจปล่อยตัว แอตลาส วี หมายเลขซีเรียล เอวี-010 ได้กลิ้งออกไปนอกจุดปล่อยตัว[ต้องการอ้างอิง]
17 ม.ค. 2549การปล่อยตัวยานนิวฮอไรซันส์ได้ถูกเลื่อนไปเพราะสภาพอากาศที่ไม่เป็นที่ยอมรับ (มีลมแรง)[5][6]
18 ม.ค. 2549การปล่อยตัวยานนิวฮอไรซันส์ได้ถูกเลื่อนไปอีกเพราะเกิดไฟฟ้าดับที่ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ประยุกต์[ต้องการอ้างอิง]
19 ม.ค. 2549การปล่อยตัวยานนิวฮอไรซันส์สำเร็จลงตามเวลามาตรฐานตะวันออก 14:00 (ตามเวลาสากลเชิงพิกัด 19:00)การปล่อยตัวยานทำได้สำเร็จ หลังจากล่าช้าเล็กน้อยเนื่องจากมีเมฆบัง[7][8]
7 เม.ย. 2549ยานนิวฮอไรซันส์เคลื่อนที่ผ่านดาวอังคารยานได้ผ่านดาวอังคารที่ 1.7 AU จากโลก[9][10]
13 มิ.ย. 2549ผ่านดาวเคราะห์น้อย132524 เอพีแอลยานผ่านเข้าใกล้ดาวเคราะห์น้อย 132524 APL ในแถบดาวเคราะห์น้อยที่ระยะใกล้ที่สุดประมาณ 101,867 กิโลเมตร เมื่อเวลา 04:05 UTC และได้ถ่ายภาพดาวเคราะห์น้อยเอาไว้[11]
28 พ.ย. 2549ยานสามารถถ่ายภาพแรกของดาวพลูโตได้มีการถ่ายภาพดาวพลูโตจากระยะไกล เห็นดาวเคราะห์แคระเพียงจางๆ[12]
10 ม.ค. 2550ทดสอบการนำร่องใกล้ดาวพฤหัสบดียานได้สังเกตการณ์ดวงจันทร์ Callirrhoe ซึ่งเป็นดาวบริวารรอบนอกของดาวพฤหัสจากในระยะไกล เป็นการทดสอบระบบนำร่อง[13]
28 ก.พ. 2550โคจรผ่านดาวพฤหัสบดียานผ่านเข้าใกล้ดาวพฤหัสบดีที่สุดเมื่อเวลา 05:43:40 UTC ที่ระยะ 2.305 ล้านกิโลเมตร ที่ความเร็ว 21.219 กม./วินาที[14]
8 มิ.ย. 2551ยานผ่านวงโคจรของดาวเสาร์ยานผ่านวงโคจรของดาวเสาร์ที่ 9.5 AU จากโลก[14][15]
29 ธ.ค. 2552ยานกำลังเข้าใกล้ดาวพลูโตมากกว่าใกล้โลกดาวพลูโตอยู่ห่างจากโลก 32.7 AU ขณะที่ยานกำลังเดินทางอยู่ห่างจากโลก 16.4 AU[16][17][18]
25 ก.พ. 2553ยานเดินทางได้ครึ่งหนึ่งของระยะทางทั้งหมดHalf the travel distance of 2.38×109 กิโลเมตร (1,480,000,000 ไมล์) was completed.[19]
18 มี.ค. 2554ยานบินผ่านวงโคจร ดาวยูเรนัสนี่เป็นการโคจรผ่านวงโคจรดาวเคราะห์เป็นดวงที่ 4 ยานนิวฮอไรซันส์เดินทางถึงวงโคจรของดาวยูเรนัสเมื่อเวลา 22:00 GMT[20][21]
2 ธ.ค. 2554ยานเข้าใกล้ดาวพลูโตมากกว่าที่ยานใดๆ เคยทำได้มาก่อนก่อนหน้านี้ ยานวอยเอจเจอร์ 1 ทำสถิติเข้าใกล้ดาวพลูโตที่สุดที่ระยะประมาณ ~10.58 AU[22]
11 ก.พ. 2555ยานห่างจากดาวพลูโต 10 หน่วยดาราศาสตร์ที่เวลาประมาณ 4:55 UTC[23]
1 ก.ค. 2556ยานสามารถบันทึกภาพดวงจันทร์ชารอนได้เป็นครั้งแรกCharon is clearly separated from Pluto using the Long Range Reconnaissance Imager (LORRI).[24][25]
25 ต.ค. 2556ยานห่างจากดาวพลูโต 5 หน่วยดาราศาสตร์[23][26]
24 ส.ค. 2557ยานผ่านวงโครจร ดาวเนปจูนนี่เป็นวงโคจรดาวเคราะห์ดวงที่ 5 ที่ยานบินผ่าน[27]
ม.ค. 2558Observation of KBO VNH0004Distant observations from a distance of roughly 75 million km (~0.5 AU)[28]
ก.พ. 2558เริ่มการสำรวจดาวพลูโตยานนิวฮอไรซันส์เข้าใกล้ดาวพลูโตมากพอที่จะเริ่มภารกิจการสำรวจทางวิทยาศาสตร์[14]
5 พ.ค. 2558มองเห็นจากฮับเบิลมากที่สุดกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล สามารถบันทึกภาพยานที่ความคมชัดสูงสุดได้เท่านี้[14]
14 ก.ค. 2558ยานโคจรผ่านดาวพลูโต, ดวงจันทร์ชารอน, Hydra, Nix, Kerberos และ Styxยานบินผ่านดาวพลูโตที่เวลาประมาณ 11:47 UTC ระยะห่าง 13,695 กม., 13.78 กม./วินาที ดาวพลูโตอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 32.9 AU ยานบินผ่านชารอน, ไฮดรา, นิกซ์, เคอร์เบอรอส และสติกซ์ ที่เวลาประมาณ 12:01 UTC ระยะห่าง 29,473 กม., 13.87 กม./วินาที[14]
2559-2563ยานน่าจะบินผ่านวัตถุในแถบไคเปอร์อีกจำนวนหนึ่งยานจะสำรวจระหว่างบินผ่านวัตถุในแถบไคเปอร์ถ้ามีการตรวจจับได้[29]
2569ประมาณการสิ้นสุดภารกิจสรุปผลภารกิจการสำรวจดาวเคราะห์แคระ[30]
ธ.ค. 2581ยานอยู่ในระยะห่างจากดวงอาทิตย์ 100 หน่วยดาราศาสตร์ถ้ายานยังทำงานได้ ก็จะสำรวจพื้นที่เฮลิโอสเฟียร์ต่อไป[31]



อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง