โมซูล

โมซูล (อังกฤษ: Mosul; ตุรกี: Musul) หรือ อัลเมาศิล (อาหรับ: الموصل, อักษรโรมัน: al-Mawṣil; เคิร์ด: مووسڵ, อักษรโรมัน: Mûsil;[3][4] ซีรีแอก: ܡܘܨܠ, อักษรโรมัน: Māwṣil[5]) เป็นนครหลักในอิรักตอนเหนือ ทำหน้าที่เป็นเมืองหลักของเขตผู้ว่าการนิเนเวห์[6] นครนี้มีประชากรและพื้นที่มากเป็นอันดับสองของประเทศ รองจากกรุงแบกแดด โดยมีประชากรมากกว่า 3.7 ล้านคน โมซูลตั้งอยู่ทางเหนือของแบกแดดประมาณ 400 กิโลเมตร (250 ไมล์)

โมซูล

الموصل
นคร
บนลงล่าง ซ้ายไปขวา:
ทิวทัศน์เหนือแม่น้ำไทกริส
โบสถ์นักบุญโทมัส • ฮัตรา
พื้นที่เมืองโมซูล • ประตูแม่น้ำ
พิพิธภัณฑ์โมซูล • บ้านมรดก
สมญา: 
Nīnwē ܢܝ݂ܢܘܹܐ
ไข่มุกตอนเหนือ
โมซูลตั้งอยู่ในประเทศอิรัก
โมซูล
โมซูล
ที่ตั้งในประเทศอิรัก
พิกัด: 36°20′N 43°08′E / 36.34°N 43.13°E / 36.34; 43.13
ประเทศ อิรัก
เขตผู้ว่าการนิเนเวห์
อำเภอโมซูล
พื้นที่
 • ทั้งหมด180 ตร.กม. (70 ตร.ไมล์)
ความสูง[1]223 เมตร (732 ฟุต)
ประชากร
 (2021)
 • ทั้งหมด1,683,000 คน
 Macrotrends[2]
เขตเวลาUTC+3 (AST)
รหัสพื้นที่60
แผนที่โมซูลและย่านในนครนี้

โมซูลและพื้นที่รอบ ๆ มีประชากรที่หลากหลาย ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวอาหรับ ส่วนชาวอัสซีเรีย,[7] เติร์กเมน และเคิร์ด กับชนกลุ่มน้อยอื่น ๆ ถือเป็นชนกลุ่มน้อย ในนครนี้มีผู้นับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนีมากที่สุด แต่ก็ยังมีผู้นับถือศาสนาคริสต์อยู่จำนวนหนึ่ง พร้อมกับผู้ที่นับถือนิกายอื่น ๆ ของศาสนาอิสลาม และศาสนาของชนกลุ่มน้อย

ในอดีต โมซูลมีผลิตภัณฑ์ที่สำคัญอย่างหินอ่อนและน้ำมัน โมซูลเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยโมซูล และวิทยาลัยแพทย์ ศูนย์กลางการศึกษาและวิจัยใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในตะวันออกกลาง

โมซูลกับที่ราบนิเนเวห์ถือเป็นหนึ่งในศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ของชาวอัสซีเรีย[8]

ในเดือนมิถุนายน 2557 นครถูกรัฐอิสลามอิรักและเลแวนต์ยึดระหว่างการรุกภาคเหนือของอิรักปี 2557 รัฐบาลยึดคืนได้ในเดือนกรกฎาคม 2560

ภูมิประเทศ

โมซูลตั้งอยู่เหนือระดับน้ำทะเล 223 เมตร ในภูมิภาคเมโสโปเตเมียตอนเหนือของตะวันออกกลาง ทิศตะวันตกเฉียงใต้ติดกับทะเลทรายซีเรีย ส่วนทิศตะวันออกติดกับเทือกเขาซากรอส

ภูมิอากาศ

ข้อมูลภูมิอากาศของโมซูล
เดือนม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย.ต.ค.พ.ย.ธ.ค.ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F)21.1
(70)
26.9
(80.4)
31.8
(89.2)
35.5
(95.9)
42.9
(109.2)
44.1
(111.4)
47.8
(118)
49.3
(120.7)
46.1
(115)
42.2
(108)
32.5
(90.5)
25.0
(77)
49.3
(120.7)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F)12.4
(54.3)
14.8
(58.6)
19.3
(66.7)
25.2
(77.4)
32.7
(90.9)
39.2
(102.6)
42.9
(109.2)
42.6
(108.7)
38.2
(100.8)
30.6
(87.1)
21.1
(70)
14.1
(57.4)
27.76
(81.97)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F)7.3
(45.1)
9.1
(48.4)
13.1
(55.6)
18.2
(64.8)
24.5
(76.1)
30.3
(86.5)
34.0
(93.2)
33.4
(92.1)
28.7
(83.7)
22.1
(71.8)
14.2
(57.6)
9.0
(48.2)
20.33
(68.59)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F)2.2
(36)
3.4
(38.1)
6.8
(44.2)
11.2
(52.2)
16.2
(61.2)
21.3
(70.3)
25.0
(77)
24.2
(75.6)
19.1
(66.4)
13.5
(56.3)
7.2
(45)
3.8
(38.8)
12.83
(55.09)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F)-17.6
(0.3)
-12.3
(9.9)
-5.8
(21.6)
-4.0
(24.8)
2.5
(36.5)
9.7
(49.5)
11.6
(52.9)
14.5
(58.1)
8.9
(48)
-2.6
(27.3)
-6.1
(21)
-15.4
(4.3)
−17.6
(0.3)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว)62.1
(2.445)
62.7
(2.469)
63.2
(2.488)
44.1
(1.736)
15.2
(0.598)
1.1
(0.043)
0.2
(0.008)
0.0
(0)
0.3
(0.012)
11.8
(0.465)
45.0
(1.772)
57.9
(2.28)
363.6
(14.315)
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย111112960000571071
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด1581651922103103633843693212671891553,083
แหล่งที่มา 1: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (UN)[9]
แหล่งที่มา 2: Weatherbase (เฉพาะสูงสุด)[10]


อ้างอิง

ข้อมูล

  • Nasiri, Ali Naqi; Floor, Willem M. (2008). Titles and Emoluments in Safavid Iran: A Third Manual of Safavid Administration. Mage Publishers. p. 309. ISBN 978-1933823232.
  • Oberling, P. (1984). "AFŠĀR". Encyclopaedia Iranica, Vol. I, Fasc. 6. pp. 582–586. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-04-29.
  • Rothman, E. Nathalie (2015). Brokering Empire: Trans-Imperial Subjects between Venice and Istanbul. Cornell University Press. ISBN 978-0801463129.

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง