จักรวรรดิเซลจุค

มหาจักรวรรดิเซลจุค (อังกฤษ: Great Seljuk Empire)[11][b] หรือ จักรวรรดิเซลจุค (Seljuk Empire) เป็นจักรวรรดิอิสลามนิกายซุนนีในสมัยกลางตอนกลาง ที่มีวัฒนธรรมของเติร์ก-เปอร์เซีย[14] ก่อตั้งและปกครองโดยชาวเติร์กโอคุซ สาขา Qïnïq[15] มีพื้นที่รวม 3.9 ล้าน ตารางกิโลเมตร (1.5 ล้าน ตารางไมล์) จากอานาโตเลียกับลิแวนต์ทางตะวันตกถึงฮินดูกูชทางตะวันออก และจากเอเชียกลางทางตอนเหนือถึงอ่าวเปอร์เซียทางตอนใต้

มหาจักรวรรดิเซลจุค

1037–1194
จักรวรรดิเซลจุคในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดใน ค.ศ. 1092 เมื่อสุลต่านแมลิก ชอฮ์ที่ 1 เสด็จสวรรคต[a]
จักรวรรดิเซลจุคในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดใน ค.ศ. 1092
เมื่อสุลต่านแมลิก ชอฮ์ที่ 1 เสด็จสวรรคต[a]
สถานะจักรวรรดิ
เมืองหลวง
ภาษาทั่วไป
ศาสนา
อิสลามนิกายซุนนี (มัซฮับฮะนะฟี)
การปกครองรัฐบริวารในรัฐเคาะลีฟะฮ์ (โดยนิตินัย)[6]
รัฐสุลต่านอิสระ (โดยพฤตินัย)
เคาะลีฟะฮ์ 
• 1031–1075
อัลกออิม
• 1180–1225
อันนาศิร
สุลต่าน 
• 1037–1063
ทูฆรีล (องค์แรก)
• 1174–1194
ทูฆรีลที่ 3 (องค์สุดท้าย)[7]
ประวัติศาสตร์ 
• จัดตั้งโดยทูฆรีล
1037
• ยุทธการที่แดนดอแนกอน
1040
• ยุทธการที่มันซิเกิร์ต
1071
1095–1099
• ยุทธการที่ Qatwan
1141
• จักรวรรดิฆวอแรซม์เข้ามาแทนที่[8]
1194
พื้นที่
ประมาณ ค.ศ. 1080[9][10]3,900,000 ตารางกิโลเมตร (1,500,000 ตารางไมล์)
ก่อนหน้า
ถัดไป
Oghuz Yabgu State
แฆซแนวีด
ราชวงศ์บูยิด
จักรวรรดิไบแซนไทน์
คอคูยิด
รัฐเคาะลีฟะฮ์ฟาฏิมียะฮ์
รัฐข่านคารา-ข่าน
Marwanids
Rawadids
รัฐสุลต่านรูม
เบย์ลิกอานาโตเลีย
ราชวงศ์ฆูริด
จักรวรรดิฆวอแรซม์
Atabegs of Azerbaijan
Salghurids
Bavandids
ราชวงศ์อัยยูบี
ราชวงศ์บูริด
ราชวงศ์เซนกิด
ดอนิชเมนด์
Artuqid dynasty
Shah-Armens
Shaddadids
รัฐสุลต่านเซลจุคเคร์มอน
ราชอาณาจักรไซปรัส
จักรวรรดิไบแซนไทน์
ประวัติศาสตร์อิหร่านแผ่นดินใหญ่
Faravahar background
กษัตริย์แห่งเปอร์เชีย
ก่อนยุคใหม่
ก่อน อิสลาม
ก่อนคริสต์ศักราช
ก่อนประวัติศาสตร์
วัฒนธรรมก่อนเอลาไมท์3200–2800
จักรวรรดิเอลาไมท์2800–550
แหล่งโบราณคดีบัคเตรีย-มาร์เกียนา2200–1700
ราชอาณาจักรมานไนศตวรรษที่ 10-7
จักรวรรดิมีเดีย728–550
จักรวรรดิอคีเมนียะห์550–330
จักรวรรดิซิลูซิด330–150
ราชอาณาจักรกรีก-บัคเตรีย250-125
จักรวรรดิพาร์เธีย248–ค.ศ.  224
หลังคริสต์ศักราช
จักรวรรดิกุษาณะ30–275
จักรวรรดิซาสซานิยะห์224–651
จักรวรรดิเฮพธาไลท์425–557
เฮพธาไลท์-กุษาณะ565–670
หลัง อิสลาม
อาณาจักรกาหลิป637–651
จักรวรรดิอุมัยยะฮ์661–750
จักรวรรดิอับบาซียะฮ์750–1258
จักรวรรดิทาฮิริยะห์821–873
ราชวงศ์อาลาวิยะห์864–928
จักรวรรดิซัฟฟาริยะห์861–1003
จักรวรรดิซามานิยะห์819–999
จักรวรรดิไซยาริยะห์928–1043
จักรวรรดิไบอิยะห์934–1055
จักรวรรดิกาสนาวิยะห์975–1187
จักรวรรดิกอร์1149–1212
จักรวรรดิเซลจุค1037–1194
จักรวรรดิควาเรซเมีย1077–1231
ราชวงศ์คาร์ติยะห์1231-1389
จักรวรรดิข่านอิล1256–1353
ราชวงศ์มุซาฟฟาริยะห์1314–1393
ราชวงศ์จุพานิยะห์1337–1357
ราชวงศ์จาไลยิริยะห์1339–1432
ราชวงศ์เตมือร์1370–1506
คารา โคยันลู เตอร์โคมันส์1407–1468
อัค โคยันลู เตอร์โคมันส์1378–1508
จักรวรรดิซาฟาวิยะห์1501–1722*
จักรวรรดิโมกุล1526–1857
ราชวงศ์โฮทาคิ1722–1738
จักรวรรดิอาฟชาริยะห์1736–1750
* หรือ 1736
ยุคใหม่
สสซ = สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต
จักรวรรดิดุรรานี1747–1823
เอมิเรตอัฟกานิสถาน1823–1929
อิทธิพลของบริติชและรัสเซีย1826–1919
อิสรภาพและสงครามกลางเมือง1919–1929
สมัยปกครองของมุฮัมมัดเมดไซ1929–1973
สาธารณรัฐอัฟกานิสถาน1973–1978
สาธารณรัฐประชาธิปไตยอัฟกานิสถาน1978–1992
ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถานสมัยปัจจุบันตั้งแต่ 1992
ลำดับเหตุการณ์
อาณาจักรข่านแห่งคอเคซัส1722–1828
ภายใต้การปกครองของรัสเซีย1828–1917
สาธารณรัฐประชาธิปไตย1918–1920
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต1920–1991
สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจานตั้งแต่ 1991
ราชวงศ์ซานด์1750–1794
ราชวงศ์กอญัร1781–1925
ราชวงศ์ปาห์ลาวี1925–1979
การปฏิวัติอิหร่าน1979
รัฐบาลชั่วคราว1979
สาธารณรัฐอิสลามอิหร่านตั้งแต่ 1979
อีรักออตโตมัน1632–1919
กษัตริย์ฮาชิไมท์1920–1958
การปฏิวัติและสาธารณรัฐ1958–2003
สาธารณรัฐอิรักตั้งแต่ 2004
เอมิเรตบูคารา1785–1920
สาธารณรัฐประชาชนโซเวียตบุฮารา / อุซเบก1920–1929
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอิสระทาจิก1929
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก1929–1991
สาธารณรัฐทาจิกิสถานตั้งแต่ 1991

ในคริสต์ทศวรรษ 1140 อำนาจและอิทธิพลของจักรวรรดิเซลจุคเริ่มเสื่อมถอยก่อนแทนที่ด้วยจักรวรรดิฆวอแรซม์ใน ค.ศ. 1194

ประวัติ

ก่อตั้งราชวงศ์

ผู้ก่อตั้งราชวงศ์เซลจุคคือขุนศึกชาวเติร์กโอคุซนามเซลจุค เขามีชื่อเสียงจากการรับใช้ในกองทัพคาซาร์ พวกเซลจุคอพยพไปที่ฆวอแรซม์ ใกล้กับเมืองJend โดยพวกเขาเข้ารับอิสลามใน ค.ศ. 985[16] ฆวอแรซม์ในเวลานั้นอยู่ในการควบคุมของ Ma'munids แห่งจักรวรรดิซอมอนีด[17] ใน ค.ศ. 999 จักรวรรดิซอมอนีดตกอยู่ใต้อำนาจของรัฐข่านคารา-ข่านแห่งทรานโซเซียนา แต่พวก Ghaznavids ครอบครองดินแดนทางใต้ของ Oxus[18] พวกเซลจุคจึงมีส่วนร่วม โดยสนับสนุนเอมีร์ซอมอนีดองค์สุดท้าย ก่อนที่จะจัดตั้งฐานอำนาจอิสระของตนเอง[19]

ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

เชิงอรรถ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูล

  • Arjomand, Said Amir (1999). "The Law, Agency, and Policy in Medieval Islamic Society: Development of the Institutions of Learning from the Tenth to the Fifteenth Century". Comparative Studies in Society and History. 41, No. 2 (Apr.) (2): 263–293. doi:10.1017/S001041759900208X. S2CID 144129603.
  • Basan, Osman Aziz (2010). The Great Seljuqs: A History. Taylor & Francis.
  • Berkey, Jonathan P. (2003). The Formation of Islam: Religion and Society in the Near East, 600–1800. Cambridge University Press.
  • Bosworth, C.E. (1968). "The Political and Dynastic History of the Iranian World (A.D. 1000–1217)". ใน Boyle, J.A. (บ.ก.). The Cambridge History of Iran. Vol. 5: The Saljuq and Mongol Periods. Cambridge University Press.
  • Bosworth, C.E., บ.ก. (2010). The History of the Seljuq Turks: The Saljuq-nama of Zahir al-Din Nishpuri. แปลโดย Luther, Kenneth Allin. Routledge.
  • Bulliet, Richard W. (1994). Islam: The View from the Edge. Columbia University Press.
  • Canby, Sheila R.; Beyazit, Deniz; Rugiadi, Martina; Peacock, A.C.S. (2016). Court and Cosmos: The Great Age of the Seljuqs. The Metropolitan Museum of Art.
  • Frye, R.N. (1975). "The Samanids". ใน Frye, R.N. (บ.ก.). The Cambridge History of Iran. Vol. 4:The Period from the Arab invasion to the Saljuqs. Cambridge University Press.
  • Gardet, Louis (1970). "Religion and Culture". ใน Holt, P.M.; Lambton, Ann K. S.; Lewis, Bernard (บ.ก.). The Cambridge History of Islam. Vol. 2B. Cambridge University Press. pp. 569–603.
  • Herzig, Edmund; Stewart, Sarah (2014). The Age of the Seljuqs: The Idea of Iran Vol.6. I.B. Tauris. ISBN 978-1780769479.
  • Hillenbrand, Robert (1994). Islamic Architecture: Form, Function, and Meaning. Columbia University Press.
  • Korobeinikov, Dimitri (2015). "The Kings of the East and the West: The Seljuk Dynastic Concept and Titles in the Muslim and Christian sources". ใน Peacock, A.C.S.; Yildiz, Sara Nur (บ.ก.). The Seljuks of Anatolia. I.B. Tauris.
  • Kuru, Ahmet T. (2019). Islam, Authoritarianism, and Underdevelopment: A Global and Historical Underdevelopment. Cambridge University Press.
  • Lambton, A.K.S. (1968). "The Internal Structure of the Saljuq Empire". ใน Boyle, J.A. (บ.ก.). The Cambridge History of Iran. Vol. 5: The Saljuq and Mongol Periods. Cambridge University Press.
  • Minorsky, V. (1953). Studies in Caucasian History I. New Light on the Shaddadids of Ganja II. The Shaddadids of Ani III. Prehistory of Saladin. Cambridge University Press.
  • Mirbabaev, A.K. (1992). "The Islamic lands and their culture". ใน Bosworth, Clifford Edmund; Asimov, M. S. (บ.ก.). History of Civilizations of Central Asia. Vol. IV: Part Two: The age of achievement: A.D. 750 to the end of the fifteenth century. Unesco.
  • Christie, Niall (2014). Muslims and Crusaders: Christianity's Wars in the Middle East, 1095–1382: From the Islamic Sources. Routledge.
  • Peacock, Andrew C. S. (2010). Early Seljūq History: A New Interpretation.
  • Peacock, A.C.S.; Yıldız, Sara Nur, บ.ก. (2013). The Seljuks of Anatolia: Court and Society in the Medieval Middle East. I.B.Tauris. ISBN 978-1848858879.
  • Peacock, Andrew (2015). The Great Seljuk Empire. Edinburgh University Press Ltd.
  • Mecit, Songül (2014). The Rum Seljuqs: Evolution of a Dynasty. Routledge. ISBN 978-1134508990.
  • Safi, Omid (2006). The Politics of Knowledge in Premodern Islam: Negotiating Ideology and Religious Inquiry (Islamic Civilization and Muslim Networks). University of North Carolina Press.
  • El-Azhari, Taef (2021). Queens, Eunuchs and Concubines in Islamic History, 661–1257. Edinburgh University Press. ISBN 978-1474423182.
  • Green, Nile (2019). Green, Nile (บ.ก.). The Persianate World: The Frontiers of a Eurasian Lingua Franca. University of California Press.
  • Spuler, Bertold (2014). Iran in the Early Islamic Period: Politics, Culture, Administration and Public Life between the Arab and the Seljuk Conquests, 633–1055. Brill. ISBN 978-90-04-28209-4.
  • Stokes, Jamie, บ.ก. (2008). Encyclopedia of the Peoples of Africa and the Middle East. New York: Facts On File. ISBN 978-0-8160-7158-6. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-02-14.
  • Tor, D.G. (2011). "'Sovereign and Pious': The Religious Life of the Great Seljuq Sultans". ใน Lange, Christian; Mecit, Songul (บ.ก.). The Seljuqs: Politics, Society, and Culture. Edinburgh University Press. pp. 39–62.
  • Tor, Deborah (2012). "The Long Shadow of Pre-Islamic Iranian Rulership: Antagonism or Assimilation?". ใน Bernheimer, Teresa; Silverstein, Adam J. (บ.ก.). Late Antiquity: Eastern Perspectives. Oxford: Oxbow. pp. 145–163. ISBN 978-0-906094-53-2.
  • Van Renterghem, Vanessa (2015). "Baghdad: A View from the Edge on the Seljuk Empire". ใน Herzig, Edmund; Stewart, Sarah (บ.ก.). The Age of the Seljuqs: The Idea of Iran. Vol. VI. I.B. Tauris.

อ่านเพิ่ม

  • Previté-Orton, C. W. (1971). The Shorter Cambridge Medieval History. Cambridge: Cambridge University Press.
  • Tetley, G. E. (2008). The Ghaznavid and Seljuk Turks: Poetry as a Source for Iranian History. Abingdon. ISBN 978-0-415-43119-4.

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:NSRW Poster

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง