ชาวเคิร์ด

(เปลี่ยนทางจาก Kurdish people)

ชาวเคิร์ด (เคิร์ด: کورد ,Kurd) เป็นกลุ่มชนอิหร่าน[28][29][30] ที่อาศัยอยู่ในภูมิภาคบนภูเขาของเคอร์ดิสถานในเอเชียตะวันตก ซึ่งกินพื้นที่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของตุรกี, ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอิหร่าน, ทางเหนือของอิรัก และทางเหนือของซีเรีย[31] โดยมีดินแดนส่วนแยกของชาวเคิร์ดในอานาโตเลียกลาง, โฆรอซอน และคอเคซัส เช่นเดียวกันกับสังคมชาวเคิร์ดพลัดถิ่นในเมืองทางตะวันตกของตุรกี (โดยเฉพาะอิสตันบูล) และยุโรปตะวันตก (โดยเฉพาะในประเทศเยอรมนี) ประชากรชาวเคิร์ดมีประมาณ 30 ถึง 45 ล้านคน[2][32]

ชาวเคิร์ด
Kurd کورد
ธงชาติเคิร์ด
ประชากรทั้งหมด
30–40 ล้านคน[1]
(เดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก, ประมาณ ค.ศ. 2015)
36.4–45.6 ล้านคน[2]
(Kurdish Institute of Paris, ประมาณ ค.ศ. 2017)
 ตุรกีประมาณ 14.3–20 ล้านคน[1][2]
 อิหร่านประมาณ 8.2–12 ล้านคน[1][2]
 อิรักประมาณ 5.6–8.5 ล้านคน[1][2]
 ซีเรียประมาณ 2–3.6 ล้านคน[1][2]
 เยอรมนี1.2–1.5 ล้านคน[3][4]
 อาเซอร์ไบจาน180,000 คน
 ฝรั่งเศส150,000 คน[5]
 เนเธอร์แลนด์100,000 คน[6]
 สวีเดน83,600 คน[7]
 รัสเซีย63,818 คน[8]
 เบลเยียม50,000 คน[9]
 สหราชอาณาจักร49,841 คน[10][11][12]
 คาซัคสถาน46,348 คน[13]
 อาร์มีเนีย37,470 คน[14]
 สวิตเซอร์แลนด์35,000 คน[15]
 เดนมาร์ก30,000 คน[16]
 จอร์แดน30,000 คน[17]
 ออสเตรีย23,000 คน[18]
 กรีซ22,000 คน[19]
 สหรัฐ20,591 คน[20]
 แคนาดา16,315 คน[21]
 ฟินแลนด์15,368 คน[22]
 จอร์เจีย13,861 คน[23]
 คีร์กีซสถาน13,200 คน[24]
 ออสเตรเลีย10,551 คน[25]
ภาษา
เคิร์ด
ในรูปอื่น: โซรานี, กุรมันชี, เปฮ์เลวานี, ลากี[26]
ซาซา, โกรานี[27]
ศาสนา
ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม
(ซุนนี, ชีอะฮ์)
ส่วนน้อยนับถือแอเลวีแบบเคิร์ด, ลัทธิยาซีดี, ลัทธิยาร์ซานี, ศาสนาโซโรอัสเตอร์, ยูดาห์, คริสต์
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มชนอิหร่านอื่น ๆ

ชาวเคิร์ดพูดภาษาเคิร์ดและกลุ่มภาษาซาซา–โกรานี ซึ่งอยู่ในสาขาอิหร่านตะวันตกของกลุ่มภาษาอิหร่านในตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน[33][34]

หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่งและการพ่ายแพ้ของจักรวรรดิออตโตมัน ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ทำข้อกำหนดสำหรับรัฐเคิร์ดตามสนธิสัญญาแซฟร์ใน ค.ศ. 1920 อย่างไรก็ตาม มีการละเมิดสัญญาในสามปีต่อมา เพราะมีการแบ่งดินแดนตามสนธิสัญญาโลซาน ทำให้ชาวเคิร์ดมีสถานะเป็นชนกลุ่มน้อยในประเทศใหม่ทั้งหมด[35]

อ้างอิง

หมายเหตุ

อ้างอิง

บรรณานุกรม

  • Aslanian, Sebouh (2011). From the Indian Ocean to the Mediterranean: The Global Trade Networks of Armenian Merchants from New Julfa. California: University of California Press. ISBN 978-0520947573.
  • Blow, David (2009). Shah Abbas: The Ruthless King Who Became an Iranian Legend. I.B.Tauris. ISBN 978-0857716767.
  • Bournoutian, George (2002). A Concise History of the Armenian People: (from Ancient Times to the Present) (2 ed.). Mazda Publishers. p. 208. ISBN 978-1568591414.
  • Floor, Willem; Herzig, Edmund (2012). Iran and the World in the Safavid Age. I.B.Tauris. ISBN 978-1850439301.
  • Barth, F. 1953. Principles of Social Organization in Southern Kurdistan. Bulletin of the University Ethnographic Museum 7. Oslo.
  • Hansen, H.H. 1961. The Kurdish Woman's Life. Copenhagen. Ethnographic Museum Record 7:1–213.
  • Leach, E.R. 1938. Social and Economic Organization of the Rowanduz Kurds. London School of Economics Monographs on Social Anthropology 3:1–74.
  • Longrigg, S.H. 1953. Iraq, 1900–1950. London.
  • Masters, W.M. 1953. Rowanduz. Ph.D. dissertation, University of Michigan.
  • McKiernan, Kevin. 2006. The Kurds, a People in Search of Their Homeland. New York: St. Martin's Press. ISBN 978-0-312-32546-6
  • Mikaberidze, Alexander (2015). Historical Dictionary of Georgia (2 ed.). Rowman & Littlefield. ISBN 978-1442241466.
  • Matthee, Rudi. "ŠAYḴ-ʿALI KHAN ZANGANA". Encyclopaedia Iranica.

อ่านเพิ่ม

  • Samir Amin (October 2016). The Kurdish Question Then and Now, in Monthly Review, Volume 68, Issue 05
  • Dundas, Chad. "Kurdish Americans." Gale Encyclopedia of Multicultural America, edited by Thomas Riggs, (3rd ed., vol. 3, Gale, 2014), 3:41-52. online
  • Eppel, Michael. A People Without a State: The Kurds from the Rise of Islam to the Dawn of Nationalism, 2016, University of Texas Press
  • Maisel, Sebastian, ed. The Kurds: An Encyclopedia of Life, Culture, and Society. Abc-Clio, 2018.
  • Shareef, Mohammed. The United States, Iraq and the Kurds: shock, awe and aftermath (Routledge, 2014).

ประวัติศาสตร์นิพนธ์

  • Maxwell, Alexander; Smith, Tim (2015). "Positing 'not-yet-nationalism': limits to the impact of nationalism theory on Kurdish historiography". Nationalities Papers. 43 (5): 771–787. doi:10.1080/00905992.2015.1049135. S2CID 143220624.
  • Meho, Lokman I., ed. The Kurdish Question in U.S. Foreign Policy: A Documentary Sourcebook (Praeger, 2004).

แหล่งข้อมูลอื่น

รายงานชาวเคิร์ดในตุรกี

🔥 Top keywords: หน้าหลักสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินีองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยพิเศษ:ค้นหาอสมทวอลเลย์บอลหญิงเนชันส์ลีก 2024บางกอกคณิกาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)เนติพร เสน่ห์สังคมวิทยาศาสตร์พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)วันวิสาขบูชาวอลเลย์บอลลมเล่นไฟตารางธาตุอันดับโลกเอฟไอวีบีอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์หมวดหมู่:จังหวัดของประเทศไทยไลเกอร์รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยไอแซก นิวตันศาสนาพุทธราชวงศ์จักรีกาลิเลโอ กาลิเลอีประวัติศาสตร์ชาร์เลท วาศิตา แฮเมเนารายชื่อเครื่องดนตรีจังหวัดชัยนาทสังคายนาในศาสนาพุทธประเทศไทยพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดนิวแคลิโดเนียวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทยศาสนาพุทธในประเทศพม่าพระสุนทรโวหาร (ภู่)นริลญา กุลมงคลเพชร