ชาวตุรกี

ชาวตุรกี หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เติร์ก (ตุรกี: Türkler) เป็นกลุ่มชนเตอร์กิกที่มีจำนวนมากที่สุด พวกเขาพูดภาษาตุรกีในหลายสำเนียง และเป็นประชากรที่อาศัยในประเทศตุรกีกับนอร์เทิร์นไซปรัส นอกจากนี้ ยังมีชุมชนเชื้อสายเติร์กที่อาศัยอยู่ทั่วบริเวณที่เคยเป็นของจักรวรรดิออตโตมันด้วย

ชาวตุรกี
Türkler
แผนที่ชาวตุรกีทั่วโลก
ประชากรทั้งหมด
ป. 80 ล้านคน
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
 ตุรกี  60,000,000–65,000,000[1][2]
 นอร์เทิร์นไซปรัส  315,000[3]
ชาวตุรกีพลัดถิ่นสมัยใหม่: 
 เยอรมนี3,000,000 ถึงมากกว่า 7,000,000[4][5][6][7]
 เนเธอร์แลนด์500,000 ถึงมากกว่า 2,000,000[8][9][10][11]
 ฝรั่งเศสมากกว่า 1,000,000[12][13][14]
 สหรัฐมากกว่า 1,000,000[15][16]
 สหราชอาณาจักร500,000[17][18]
 ออสเตรีย360,000–500,000[19][20]
 เบลเยียม250,000–500,000[21][22]
 ออสเตรเลีย320,000[23][24]
 คาซัคสถาน250,000[25]
 สวีเดน185,000[26][27][28]
 รัสเซีย109,883–150,000[29][30]
 อาเซอร์ไบจาน130,000[25]
 สวิตเซอร์แลนด์120,000[31]
 แคนาดามากกว่า 100,000[32]
 เดนมาร์ก70,000–75,000[33][34]
 คีร์กีซสถาน55,000[25]
 อิตาลี50,000[35]
 อุซเบกิสถาน25,000[25]
 นอร์เวย์16,500[36]
 ยูเครน8,844–15,000[37][25]
 เติร์กเมนิสถาน13,000[38]
 ฟินแลนด์10,000[39]
 โปแลนด์5,000[40]
 นิวซีแลนด์3,600–4,600[41][24]
 ไอร์แลนด์2,000–3,000[42]
 บราซิล2,000-3,000[43]
 ลีชเทินชไตน์1,000[44]
ชนกลุ่มน้อยตุรกีในตะวันออกกลาง: 
 อิรัก3,000,000–5,000,000[45][46][47]
 ซีเรีย1,000,000–1,700,000[48][49]
 ลิเบีย1,000,000–1,400,000[50][51]
 อียิปต์100,000–1,500,000[52]
 เลบานอน280,000[53][54]
 ซาอุดีอาระเบีย270,000–350,000[55][56]
 เยเมน10,000-100,000[57]
 จอร์แดน50,000[58]
ชนกลุ่มน้อยตุรกีในคาบสมุทรบอลข่าน: 
ภาษา
ตุรกี
ศาสนา
ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม (ทั้งปฏิบัติและไม่ปฏิบัติ), ส่วนใหญ่นับถือนิกายซุนนี รองลงมาคือแอเลวี
ส่วนน้อยนับถือศาสนาคริสต์และยูดาห์
จำนวนมากไม่นับถือศาสนา
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
ชาวอาเซอร์ไบจาน,[59] ชาวเติร์กเมน[59]

ชาวเติร์กอพยพจากเอเชียกลางมาตั้งถิ่นฐานที่อานาโตเลียในคริสต์ศตวรรษที่ 11 ผ่านการพิชิตของจักรวรรดิเซลจุค นั่นถือเป็นจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคนี้ จากภูมิภาคที่ส่วนใหญ่พูดภาษากรีกหลังถูกแผลงเป็นกรีก ให้กลายเป็นมุสลิมเติร์ก[80][81][82] จักรวรรดิออตโตมันครอบครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของคาบสมุทรบอลข่าน, คอเคซัสใต้, ตะวันออกกลาง (ไม่รวมอิหร่าน ถึงแม้ว่าจะควบคุมบางส่วนก็ตาม) และแอฟริกาเหนือมาหลายศตวรรษจนกระทั่งสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หลังสงครามประกาศอิสรภาพตุรกี ทำให้จักรวรรดิออตโตมันสิ้นสุดลงในวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1922 และประกาศเป็นสาธารณรัฐตุรกีในวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1923

รัฐธรรมนูญตุรกีมาตราที่ 66 ระบุ "ชาวเติร์ก" เป็น: "ใครก็ตามที่มีพันธะกับรัฐตุรกีผ่านการผูกสัญชาติ"คำอธิบายทางกฎหมายของ "ชาวเติร์ก" ในฐานะพลเมืองตุรกีมีความแตกต่างจากคำอธิบายทางชาติพันธุ์[83][84] โดยประชากรชาวตุรกีส่วนใหญ่ (ประมาณร้อยละ 70-75) มีเชื้อสายเติร์ก[85] และประชากรชาวเติร์กจำนวนมากเป็นมุสลิม[86]

อ้างอิง

บรรณานุกรม

อ่านเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ชาวตุรกี
🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง