ประเทศเซาตูแมอีปริงซีป

1°N 7°E / 1°N 7°E / 1; 7

สาธารณรัฐประชาธิปไตย
เซาตูแมอีปริงซีป

República Democrática de
São Tomé e Príncipe
(โปรตุเกส)
ตราแผ่นดินของเซาตูแมอีปริงซีป
ตราแผ่นดิน
คำขวัญ"Unidade, Disciplina, Trabalho" (โปรตุเกส)
"เอกภาพ, ระเบียบวินัย, แรงงาน"
เพลงชาติอิงดึเป็งเด็งซียาตูตัล
ความเป็นอิสรภาพทั้งมวล
ที่ตั้งของ ประเทศเซาตูแมอีปริงซีป  (น้ำเงินเข้ม) – ในแอฟริกา  (ฟ้า & เทาเข้ม) – ในสหภาพแอฟริกา  (ฟ้า)
ที่ตั้งของ ประเทศเซาตูแมอีปริงซีป  (น้ำเงินเข้ม)

– ในแอฟริกา  (ฟ้า & เทาเข้ม)
– ในสหภาพแอฟริกา  (ฟ้า)

เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
เซาตูแม
0°20′N 6°44′E / 0.333°N 6.733°E / 0.333; 6.733
ภาษาราชการโปรตุเกส
  • Forro
  • Angolar
  • Principense
ศาสนา
การปกครองรัฐเดี่ยว ระบบกึ่งประธานาธิบดี สาธารณรัฐ[2]
การ์ลุช วีลา นอวา
• นายกรัฐมนตรี
ปาตรีซึ ตรูวูวาดา
สภานิติบัญญัติรัฐสภา
เอกราช
12 กรกฎาคม ค.ศ. 1975
พื้นที่
• รวม
1,001[3] ตารางกิโลเมตร (386 ตารางไมล์) (อันดับที่ 171)
น้อยมาก
ประชากร
• พ.ศ. 2560 ประมาณ
199,910[4] (อันดับที่ 186)
• สำมะโนประชากร 2012
178,739
199.7 ต่อตารางกิโลเมตร (517.2 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 69)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2017 (ประมาณ)
• รวม
685 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[5]
3,220 ดอลลาร์สหรัฐ[5]
จีดีพี (ราคาตลาด) 2017 (ประมาณ)
• รวม
355 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[5]
1,668 ดอลลาร์สหรัฐ[5]
จีนี (2017)Negative increase 56.3[6]
สูง
เอชดีไอ (2019)เพิ่มขึ้น 0.625[7]
ปานกลาง · อันดับที่ 135
สกุลเงินโดบรา (STN)
เขตเวลาUTC (เวลามาตรฐานกรีนิช)
ขับรถด้านขวา
รหัสโทรศัพท์+239
รหัส ISO 3166ST
โดเมนบนสุด.st

เซาตูแมอีปริงซีป[8] หรือ เซาตูเมและปรินซีปี[8] (โปรตุเกส: São Tomé e Príncipe, ออกเสียง: [sɐ̃w̃ tuˈmɛ i ˈpɾĩsɨpɨ]) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเซาตูแมอีปริงซีป หรือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเซาตูเมและปรินซีปี (โปรตุเกส: República Democrática de São Tomé e Príncipe) เป็นประเทศหมู่เกาะเล็ก ๆ ในอ่าวกินี ประกอบด้วยเกาะสำคัญ 2 เกาะ คือ เกาะเซาตูแมและเกาะปริงซีป ซึ่งอยู่ห่างกันประมาณ 140 กิโลเมตร (87 ไมล์) และตั้งอยู่ห่างจากชายฝั่งกาบองไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 250 และ 225 กิโลเมตร (155 และ 140 ไมล์) ตามลำดับ เกาะทั้งสองเป็นส่วนหนึ่งของแนวภูเขาไฟที่ดับแล้ว มีประชากร 201,800 คน (ประมาณทางการ ค.ศ. 2018)[9][4]

เกาะเซาตูแมซึ่งมีขนาดใหญ่กว่านั้น ตั้งอยู่เกือบตรงกับบริเวณที่เส้นศูนย์สูตรพาดผ่าน และตั้งชื่อตามนักบุญทอมัส (Saint Thomas) เนื่องจากนักสำรวจชาวโปรตุเกสได้ค้นพบเกาะนี้ในวันนักบุญทอมัส (St. Thomas's Day) พอดี

การแบ่งเขตการปกครอง

จังหวัดและเขตต่าง ๆ ของเซาตูแมอีปริงซีป

ประเทศเซาตูแมอีปริงซีปแบ่งออกเป็น 2 จังหวัด (provinces) คือ

1.จังหวัดปริงซีป(ซังตูอังตอนียู)
2.จังหวัดเซาตูแม(เซาตูแม)

แต่ละจังหวัดยังแบ่งออกเป็นเขต รวม 7 เขต (districts) โดยจังหวัดปริงซีปมี 1 เขต ส่วนจังหวัดเซาตูแมมี 6 เขต ได้แก่

1.เขตอากวากรังดือ(เซาตูแม)
2.เขตกังตากาลู(ซังตานา)
3.เขตเกาแว(เซาฌูเอาดุชอังกูลารึช)
4.เขตเล็งบา(แนวึช)
5.เขตลูบาตา(กวาดาลูปือ)
6.เขตแม-ซอ(ตริงดาดือ)
7.เขตปาแก(ซังตูอังตอนียู)
  • ชื่อเมืองหลักของแต่ละเขตการปกครองอยู่ในวงเล็บ

อ้างอิง

บรรณานุกรม

  • Seibert, Gerhard (2006). Comrades, Clients, and Cousins: Colonialism, Socialism, and Democratization in São Tomé and Príncipe. Leiden: Brill. ISBN 9789004147362.
  • Seibert, Gerhard (2013). "São Tomé & Príncipe: The First Plantation Economy in the Tropics". ใน Law, Robin; Strickrodt, Silke; Schwarz, Suzanne (บ.ก.). Commercial Agriculture, the Slave Trade and Slavery in Atlantic Africa. Woodbridge, Suffolk: James Currey. ISBN 9781847011367.
  • Vogt, John L. (1973). "The Early Sao Tome-Principe Slave Trade with Mina, 1500-1540". The International Journal of African Historical Studies. 6 (3): 453–467. doi:10.2307/216611. JSTOR 216611.

อ่านเพิ่ม

  • Chabal, Patrick (ed.) 2002. A history of postcolonial Lusophone Africa. London: C. Hurst. ISBN 1-85065-589-8 – Overview of the decolonization of Portugal's African colonies, and a chapter specifically about São Tomé and Príncipe's experience since the 1970s.
  • Eyzaguirre, Pablo B. "The independence of São Tomé e Príncipe and agrarian reform." Journal of Modern African Studies 27.4 (1989): 671–678.
  • Frynas, Jędrzej George, Geoffrey Wood, and Ricardo MS Soares de Oliveira. "Business and politics in São Tomé e Príncipe: from cocoa monoculture to petro‐state." African Affairs 102.406 (2003): 51–80. online
  • Hodges, Tony, and Malyn Dudley Dunn Newitt. São Tomé and Príncipe: from plantation colony to microstate (Westview Press, 1988).
  • Keese, Alexander. "Forced labour in the 'Gorgulho Years': Understanding reform and repression in Rural São Tomé e Príncipe, 1945–1953." Itinerario 38.1 (2014): 103–124.
  • Tomás, Gil, et al. "The peopling of Sao Tome (Gulf of Guinea): origins of slave settlers and admixture with the Portuguese." Human biology 74.3 (2002): 397–411.
  • Weszkalnys, Gisa. "Hope & oil: expectations in São Tomé e Príncipe." Review of African Political Economy 35.117 (2008): 473–482. online[ลิงก์เสีย]

แหล่งข้อมูลอื่น

รัฐบาล

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง