ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

กลุ่มพันธมิตรที่ได้รับชัยชนะในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง หรือ ฝ่ายภาคี (อังกฤษ: Entente Powers / Allies; ฝรั่งเศส: Forces de l'Entente / Alliés; อิตาลี: Potenze Intesa / Alleati; รัสเซีย: Антанта Пауэрс, Antanta Pauers / Союзники, Soyuzniki; ญี่ปุ่น: 協商国, Kyoushoukoku / 連合国, Rengōkuni) เป็นประเทศที่ทำสงครามกับฝ่ายมหาอำนาจกลางระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สมาชิกของข้อตกลงไตรภาคีได้แก่ สาธารณรัฐฝรั่งเศส จักรวรรดิอังกฤษ และจักรวรรดิรัสเซีย ต่อมา อิตาลีเข้าสู่สงครามโดยอยู่ฝ่ายไตรภาคีในปี 1915 ส่วนญี่ปุ่น เบลเยียม เซอร์เบีย กรีซ มอนเตเนโกร โรมาเนีย และหน่วยทหารเชโกสโลวาเกีย[1] เป็นสมาชิกรองของข้อตกลง[2]

ฝ่ายสัมพันธมิตร/ฝ่ายภาคี

1914–1918
ฝ่ายสัมพันธมิตรในสีน้ำเงิน ฝ่ายมหาอำนาจกลางในสีส้ม
ฝ่ายสัมพันธมิตรสำคัญ:

รัฐพันธมิตรอื่น ๆ:

สถานะพันธมิตรทางการทหาร
ยุคประวัติศาสตร์สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
• ก่อตั้ง
1914
• ยุติ
1918
ก่อนหน้า
ถัดไป
พันธมิตรอังกฤษ-โปรตุเกส
สนธิสัญญาลอนดอน (1915)
พันธมิตรฝรั่งเศส-รัสเซีย
พันธมิตรอังกฤษ-ญี่ปุ่น
ความตกลงฉันทไมตรี
ความตกลงอังกฤษ-รัสเซีย
สนธิสัญญาฝรั่งเศส-ญี่ปุ่น ค.ศ. 1907
พันธมิตรอังกฤษ-โปรตุเกส
พันธมิตรอังกฤษ-ญี่ปุ่น
ความตกลงฉันทไมตรี
พันธมิตรทางการทหารฝรั่งเศส-โปแลนด์
ความตกลงอนุภาคี
พันธมิตรทางทหารในทวีปยุโรปก่อนเกิดสงคราม
ความสัมพันธ์ในทวีปยุโรปก่อนเกิดสงคราม

สมาชิก

สมาชิกมหาอำนาจ

ฝ่ายสัมพันธมิตรมีสมาชิกหลักอยู่ 6 ประเทศ

ชาติดินแดนเข้าร่วม WWI
สาธารณรัฐฝรั่งเศส แอลจีเรีย
แอฟริกาตะวันตก
ตูนิเซีย
โมร็อกโก
อินโดจีน
กัมพูชา
ลาว
3 สิงหาคม 1914
 จักรวรรดิบริติช
สหราชอาณาจักร
แคนาดา
ออสเตรเลีย
นิวซีแลนด์
แอฟริกาใต้
อินเดีย
นิวฟันด์แลนด์
พม่า
ฮ่องกง
อียิปต์
4 สิงหาคม 1914
 รัสเซีย ฟินแลนด์
โปแลนด์
1 สิงหาคม 1914
 อิตาลี ตริโปลิเตเนีย
ไซเรไนกา
เอริเทเรีย
โซมาลีแลนด์
23 พฤษภาคม 1915
จักรวรรดิญี่ปุ่น เกาหลี
ไต้หวัน
กวันตง
คาราฟูโตะ
23 สิงหาคม 1914
 สหรัฐ ฟิลิปปินส์
ฮาวาย
อะแลสกา
6 เมษายน 1917

สมาชิกรอง

ชาติดินแดนเข้าร่วม WWI
ราชอาณาจักรเซอร์เบีย28 กรกฎาคม 1914
ราชอาณาจักรเบลเยียม คองโก4 สิงหาคม 1914
ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร5 สิงหาคม 1914
สาธารณรัฐโปรตุเกส โมซัมบิก
แองโกลา
กินี
กาบูเวร์ดี
มาเก๊า
ติมอร์
9 มีนาคม 1916
ราชอาณาจักรโรมาเนีย28 สิงหาคม 1916
 ปานามา7 เมษายน 1917
 คิวบา7 เมษายน 1917
ราชอาณาจักรกรีซ27 มิถุนายน 1917
ราชอาณาจักรสยาม22 กรกฎาคม 1917
 ไลบีเรีย4 สิงหาคม 1917
สาธารณรัฐจีน ทิเบต14 สิงหาคม 1917
บราซิล26 ตุลาคม 1917
 กัวเตมาลา23 เมษายน 1918
 นิการากัว6 พฤษภาคม 1918
 คอสตาริกา23 พฤษภาคม 1918
 เฮติ12 กรกฎาคม 1918
 ฮอนดูรัส19 กรกฎาคม 1918

ประวัติ

ใบปิดของรัสเซีย แสดงภาพอุปมานิทัศน์ของประเทศกลุ่มไตรภาคี
พระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร (ซ้าย), แรมง ปวงกาเร แห่งฝรั่งเศส (กลาง) และจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย (ขวา)

ฝ่ายสัมพันธมิตรนั้นอยู่ตรงข้ามกับฝ่ายมหาอำนาจกลาง เป็นกลุ่มที่ตั้งขึ้นภายใต้ข้อตกลงไตรภาคี โดยสามมหาอำนาจของยุโรป

"บิกโฟร์": (จากซ้ายไปขวา) เดวิด ลอยด์ จอร์จ (สหราชอาณาจักร), วิตโตริโอ เอ็มมานูเอล ออร์ลันโด (อิตาลี), ฌอร์ฌ เกลม็องโซ (ฝรั่งเศส) และ วูดโรว์ วิลสัน (สหรัฐ) ในแวร์ซาย
ผู้นำหลักฝ่ายสัมพันธมิตรหลังจบสงคราม: เดวิด ลอยด์ จอร์จ (สหราชอาณาจักร), ฌอร์ฌ เกลม็องโซ (ฝรั่งเศส), วิตโตริโอ เอ็มมานูเอล ออร์ลันโด (อิตาลี), วูดโรว์ วิลสัน (สหรัฐ) และฮาระ ทากาชิ (ญี่ปุ่น)

ต่อมาในวันที่ 6 เม.ย. 1917 อเมริกาได้เข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร และจากนั้น สยามและราชอาณาจักรกรีซก็ได้เข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรด้วย โดยหลังจากสงครามสิ้นสุด จึงมีประเทศมหาอำนาจอยู่ 5 ประเทศ (ส่วนจักรวรรดิรัสเซีย,จักรวรรดิเยอรมัน, จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีนั้นล่มสลายแล้วหลังสงครามสิ้นสุด) ได้แก่

สถิติ

สถิติประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร (1913) และจำนวนทหารระหว่างสงคราม[3]
ประเทศประชากร (millions)แผ่นดิน (million km2)จีดีพี ($ billion, 1990 prices)บุคลากรที่ระดมกำลัง
คลื่นแรก (1914)
จักรวรรดิรัสเซียรัสเซีย (รวม โปแลนด์)173.221.7257.712,000,000
ฟินแลนด์3.20.46.6
รวม176.422.1264.3
สาธารณรัฐฝรั่งเศสฝรั่งเศส39.80.5138.78,410,000[4]
อาณานิคมฝรั่งเศส48.310.731.5
รวม88.111.2170.2
จักรวรรดิบริติชสหราชอาณาจักร46.00.3226.46,211,922[5]
อาณานิคมบริติช380.213.52571,440,437[6][7]
ประเทศในเครือจักรภพบริติช19.919.577.81,307,000
รวม446.133.3561.28,689,000[8]
จักรวรรดิญี่ปุ่นญี่ปุ่น55.10.476.5800,000
อาณานิคมญี่ปุ่น[9]19.10.316.3
รวม74.20.792.8
เซอร์เบีย, มอนเตเนโกร, และ บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา7.00.27.2760,000
คลื่นที่สอง (1915–1916)
ราชอาณาจักรอิตาลีอิตาลี35.60.391.35,615,000
อาณานิคมอิตาลี2.02.01.3
รวม37.62.392.6
สาธารณรัฐโปรตุเกสโปรตุเกส6.00.17.4100,000
อาณานิคมโปรตุเกส8.72.45.2
รวม14.72.512.6
ราชอาณาจักรโรมาเนีย7.70.111.7750,000
คลื่นที่สาม (1917–1918)
ลาตินอเมริกาลาตินอเมริกา
สหรัฐอเมริกาสหรัฐ96.57.8511.64,355,000
เขตโพ้นทะเลในภาวะพึ่งพิง[10]9.81.810.6
รวม106.39.6522.2
รัฐอเมริกากลาง[11]9.00.610.6
สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล25.08.520.31,713[12]
ราชอาณาจักรกรีซ4.80.17.7230,000[4]
ราชอาณาจักรสยาม8.40.57.01,284[5]
สาธารณรัฐจีน441.011.1243.7
สาธารณรัฐไลบีเรีย1.50.10.9

พลังอำนาจหลัก

จักรวรรดิอังกฤษ

จักรวรรดิรัสเซีย

สาธารณรัฐฝรั่งเศส

จักรวรรดิญี่ปุ่น

ราชอาณาจักรอิตาลี

สหรัฐ

รัฐอื่นในการรบ

ราชอาณาจักรเบลเยียม

สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล

ราชอาณาจักรกรีซ

ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย

ราชอาณาจักรโรมาเนีย

ผู้นำในสงคราม

ผู้นำทางทหารหลักช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง: Jules Jacques de Dixmude (เบลเยียม), Armando Diaz (อิตาลี), Ferdinand Foch (ฝรั่งเศส), จอห์น เพอร์ชิง (สหรัฐ) และ David Beatty (สหราชอาณาจักร)
ผู้นำทางทหารรองช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง: เฟลิกซ์ เวียเลอมันส์ (เบลเยียม), คามิโอะ มิตสึโอมิ (ญี่ปุ่น), แกรนด์ดยุกนิโคลัส นีโคลาเยวิช (รัสเซีย), ราโดเมียร์ ปุตนิก (เซอร์เบีย), พระยาเทพหัสดิน (สยาม), โบซิดาร์ ยานโควิช (มอนเตเนโกร), พานาจิโอติส ดังลิส (กรีซ), อเล็กซานดรู อาเวเรสกู (โรมาเนีย), ฟือร์นังดู ทามักนินี ดา อับเรอู (โปรตุเกส) และเปดรู ฟรอนติน (บราซิล)
Marshal Foch's Victory-Harmony Banner

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย

  • ปีเตอร์ที่ 1 – พระมหากษัตริย์เซอร์เบีย
  • นิโคลา ปาซิช – นายกรัฐมนตรีเซอร์เบีย
  • ราโดเมียร์ ปุตนิก – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกเซอร์เบีย

ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร

  • นิกอลาที่ 1 – พระมหากษัตริย์มอนเตเนโกร
  • จันโก้ วูโคติช – นายกรัฐมนตรีมอนเตเนโกร
  • โบซิดาร์ ยานโควิช – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพมอนเตเนโกร
  • เปตาร์ เพซิช – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพมอนเตเนโกร

ราชอาณาจักรเบลเยียม

  • อัลแบร์ที่ 1 – พระมหากษัตริย์เบลเยียม
  • ชาร์ลส์ เดอ บรอควิลล์ – นายกรัฐมนตรีเบลเยียม
  • เฟลิกซ์ เวียเลอมันส์ – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกเบลเยียม

จักรวรรดิรัสเซีย

Aleksei Brusilov in Rivne, Volhynian Governorate, 1915
  • จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 – จักรพรรดิแห่งรัสเซีย พระมหากษัตริย์โปแลนด์ และแกรนด์ดยุกแห่งฟินแลนด์
  • ไอวาน กเรไมีกิน – นายกรัฐมนตรีรัสเซีย (1 สิงหาคม 1914 – 2 กุมภาพันธ์ 1916)
  • บอริส สเตอร์เมอร์ – นายกรัฐมนตรีรัสเซีย (2 กุมภาพันธ์1916 – 23 พฤศจิกายน 1916)
  • Alexander Trepov – นายกรัฐมนตรีรัสเซีย (23 พฤศจิกายน 1916 – 27 ธันวาคม 1916)
  • นิโคไล โกลิตสิน – นายกรัฐมนตรีรัสเซีย (27 ธันวาคม 1916 – 9 มกราคม 1917)
  • แกรนด์ดยุกนิโคลัส นีโคลาเยวิช – ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของรัสเซีย

สาธารณรัฐฝรั่งเศส

President Raymond Poincaré and King George V, 1915
  • แรมง ปวงกาเร – ประธานาธิบดีฝรั่งเศส
  • René Viviani – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (13 มิถุนายน 1914 - 29 ตุลาคม 1915)
  • Aristide Briand – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (29 ตุลาคม 1915 - 20 มีนาคม 1917)
  • Alexandre Ribot – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (20 มีนาคม 1917 - 12 กันยายน 1917)
  • Paul Painlevé – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (12 กันยายน 1917 - 16 พฤศจิกายน 1917)
  • ฌอร์ฌ เกลม็องโซ – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (ตั้งแต่ 16 พฤศจิกายน 1917)
  • โฌแซ็ฟ ฌ็อฟร์ – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกฝรั่งเศส (จนกระทั่ง 13 ธันวาคม 1916)
  • โรเบิร์ต นีเวลล์ – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกฝรั่งเศส (จนกระทั่ง เมษายน 1917)
  • ฟีลิป เปแต็ง – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกฝรั่งเศส (ตั้งแต่ เมษายน 1917)

จักรวรรดิบริติชและเครือจักรภพ

สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์

First Lord of the Admiralty Winston Churchill, 1914
Douglas Haig and Ferdinand Foch inspecting the Gordon Highlanders, 1918

เครือรัฐออสเตรเลีย

  • โจเซฟ คุก – นายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย (จนกระทั่ง 17 กันยายน 1914)
  • แอนดรูว์ ฟิชเชอร์ – นายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย (17 กันยายน 1914 – 27 ตุลาคม 1915)
  • บิลลี ฮิวจ์ส – นายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย (ตั้งแต่ 27 ตุลาคม 1915)
  • Ronald Munro Ferguson – ผู้สำเร็จราชการออสเตรเลีย

แคนาดา

บริติชอินเดีย

  • Charles Hardinge – อุปราชแห่งอินเดีย (1910–1916)
  • Frederic Thesiger – อุปราชแห่งอินเดีย (1916–1921)

สหภาพแอฟริกาใต้

  • หลุยส์ โบธา – นายกรัฐมนตรีแอฟริกาใต้
  • The Earl of Buxton – ผู้สำเร็จราชการแอฟริกาใต้

นิวซีแลนด์

  • วิลเลียม แมสซีย์ – นายกรัฐมนตรีนิวซีแลนด์
  • The Earl of Liverpool – ผู้สำเร็จราชการนิวซีแลนด์

นิวฟันด์แลนด์

  • Sir Edward Morris – นายกรัฐมนตรีนิวฟันด์แลนด์ (1909–1917)
  • Sir John Crosbie – นายกรัฐมนตรีนิวฟันด์แลนด์ (1917–1918)
  • Sir William Lloyd – นายกรัฐมนตรีนิวฟันด์แลนด์ (1918–1919)

ราชอาณาจักรอิตาลี

General Cadorna visiting Italian troops before the Second Battle of the Isonzo.
  • วิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 3 – พระมหากษัตริย์อิตาลี
  • Antonio Salandra – นายกรัฐมนตรีอิตาลี (จนกระทั่ง 18 มิถุนายน 1916)
  • เปาโล โบเซลลี – นายกรัฐมนตรีอิตาลี (จนกระทั่ง 29 ตุลาคม 1917)
  • วิตโตริโอ เอ็มมานูเอล ออร์ลันโด – นายกรัฐมนตรีอิตาลี (ตั้งแต่ 29 ตุลาคม 1917)
  • ลุยจิ คาดอร์นา – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกราชอาณาจักรอิตาลี
  • อาร์มันโด้ ดิแอซ – ผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกราชอาณาจักรอิตาลี
  • Luigi, Duke of Abruzzi – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองเรือเอเดรียติกอิตาลี
  • เปาโล เทออน ดิ เรเวล – พลเรือเอกของกองทัพเรือราชอาณาจักรอิตาลี

จักรวรรดิญี่ปุ่น

Commander Eto greeted by King George V at Scapa Flow
  • จักรพรรดิไทโช – จักรพรรดิญี่ปุ่น
  • โอกูมะ ชิเงโนบุ – นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น (จนกระทั่ง 9 ตุลาคม 1916)
  • เทราอูจิ มาซาตาเกะ – นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น (จนกระทั่ง 29 กันยายน 1918)
  • ฮาระ ทากาชิ – นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น (ตั้งแต่ 29 กันยายน 1918)
  • คาโต ซาดาคิจิ – ผู้บัญชาการของกองเรือที่ 2 สนับสนุนการรบในการล้อมชิงเต่า
  • โคโซ ซาโต – ผู้บัญชาการของกองเรือเฉพาะกิจลำดับที่ 2 ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
  • คามิโอะ มิตสึโอมิ – ผู้บัญชาการของกองทัพสัมพันธมิตรที่ชิงเต่า

สหรัฐ

USAAS recruiting poster, 1918
  • วูดโรว์ วิลสัน – ประธานาธิบดีสหรัฐ
  • โทมัส อาร์. มาร์แชลล์ – รองประธานาธิบดีสหรัฐ
  • นิวตัน ดี. เบเคอร์ – รัฐมนตรีว่าการทบวงการสงครามสหรัฐ
  • โจเซฟิอุส แดเนียลส์ – รัฐมนตรีว่าการทบวงทหารเรือสหรัฐ
  • ทาสเกอร์ เอช. บลิส – เสนาธิการทหารบกสหรัฐ
  • เพย์ตัน ซี. มาร์ช – เสนาธิการทหารบกสหรัฐ
  • จอห์น เจ. เพอร์ชิง – ผู้บัญชาการของกองกำลังรบนอกประเทศอเมริกัน
  • วิลเลียม ซิมส์ – ผู้บัญชาการของกองทัพเรือสหรัฐในน่านน้ำยุโรป
  • เมสัน แพทริก – ผู้บัญชาการของกองกำลังทางอากาศแห่งทหารบก
  • ฮันเตอร์ ลิกเก็ตต์ – ผู้บัญชาการของเหล่าทหารไอ และกองทัพบกสหรัฐที่ 1
  • โรเบิร์ต ลี บูลลาร์ด – ผู้บัญชาการของกองทัพบกสหรัฐที่ 2

สยาม (ไทย)

ทหารของกองทหารอาสาสยาม กำลังเดินสวนสนามในกรุงปารีส ค.ศ. 1919

ราชอาณาจักรโรมาเนีย

  • เฟอร์ดินานด์ที่ 1 – พระมหากษัตริย์โรมาเนีย
  • อียอน อี. เช. เบรอตียานู – นายกรัฐมนตรีโรมาเนีย
  • อเล็กซานดรู อาเวเรสกู – ผู้บัญชาการของกองทัพบกที่ 2, กองทัพบกที่ 3 รวมถึงกลุ่มกองทัพบกทิศใต้ และ นายกรัฐมนตรีโรมาเนีย

สาธารณรัฐโปรตุเกส

  • เบอร์นาร์ดิโน มาชาโด – ประธานาธิบดีโปรตุเกส (จนกระทั่ง 12 ธันวาคม 1917)
  • อฟอนโซ กอสตา – นายกรัฐมนตรีโปรตุเกส (จนกระทั่ง 15 มีนาคม 1916; เป็นอีกครั้ง 25 เมษายน 1917 – 10 ธันวาคม 1917)
  • แอนโตนิโอ โคเซ เดอ อัลเมดา – นายกรัฐมนตรีโปรตุเกส (15 มีนาคม 1916 – 25 เมษายน 1917)
  • Sidónio Pais – นายกรัฐมนตรีโปรตุเกส (11 ธันวาคม 1917 – 9 พฤษภาคม 1918) และ ประธานาธิบดีโปรตุเกส (ตั้งแต่ 9 พฤษภาคม 1918)
  • ฟือร์นังดู ทามักนินี ดา อับเรอู – ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพรบนอกประเทศโปรตุเกส

สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล

The Brazilian ship Cruzador Bahia
  • เวเซเลา บราส – ประธานาธิบดีบราซิล
  • เออร์บาโน ซังตูช ดา กอสตา อาราโฮ – รองประธานาธิบดีบราซิล
  • เปดรู ฟรอนติน – ผู้บัญชาการของกองทัพเรือบราซิล
  • José Pessoa Cavalcanti de Albuquerque – ผู้บัญชาการของกองทัพบกบราซิลในฝรั่งเศส
  • Napoleão Felipe Aché – ผู้บัญชาการของกองกำลังทหารบราซิลในฝรั่งเศส
  • Nabuco Gouveia – ผู้บัญชาการของกองทหารแพทย์บราซิล

ราชอาณาจักรกรีซ

Greek propaganda poster

ราชรัฐลักเซมเบิร์ก

สาธารณรัฐจีน

  • หลี หยวนหง – ประธานาธิบดีจีน (1916–1917)
  • Feng Guozhang – ประธานาธิบดีจีน (1917–1918)
  • ต้วน ฉีรุ่ย – นายกรัฐมนตรีจีน

เอมิเรตนัจญด์และฮะซาอ์

สาธารณรัฐอาร์มีเนีย

  • Hovhannes Kajaznuni – นายกรัฐมนตรีอาร์มีเนีย

เชโกสโลวาเกีย

  • โตมาช มาซาริค – ประธานาธิบดีเชโกสโลวาเกีย
  • มิลาน รัสติสลาฟ สเตฟานิค – ผู้บัญชาการของกองพลเชโกสโลวาเกีย

กำลังพลและกำลังพลสูญเสีย

แผนภูมิวงกลมแสดงจำนวนทหารฝ่ายสัมพันธมิตรที่เสียชีวิต
ประเทศกำลังพลที่ระดมมาเสียชีวิตในการปฏิบัติหน้าที่บาดเจ็บในการปฏิบัติหน้าที่รวมกำลังพลสูญเสีย% ของกำลังพลที่ระดมมา
ออสเตรเลีย412,953161,928[13]152,171214,09952%
เบลเยียม267,000338,172[14]44,68682,85831%
บราซิล1,713[15]100[16]01005.84%
แคนาดา628,964164,944[17]149,732214,67634%
ฝรั่งเศส8,410,00031,397,800[18]4,266,0005,663,80067%
กรีซ230,000326,000[19]21,00047,00020%
อินเดีย1,440,437174,187[20]69,214143,40110%
อิตาลี5,615,0003651,010[21]953,8861,604,89629%
ญี่ปุ่น800,00031,415[22]9071,3224%
โมนาโก80[23]8[23]08[23]10%
มอนเตเนโกร50,00033,00010,00013,00026%
เนปาล200,000[24]30,67021,00949,82325%
นิวซีแลนด์128,525118,050[25]41,31759,36746%
โปรตุเกส100,00037,222[26]13,75120,97321%
โรมาเนีย750,0003250,000[27]120,000370,00049%
รัสเซีย12,000,00031,811,000[28]4,950,0006,761,00056%
เซอร์เบีย707,3433275,000[29]133,148408,14858%
สยาม1,2842190193%
แอฟริกาใต้136,07019,463[30]12,02921,49216%
สหราชอาณาจักร6,211,9222886,342[31]1,665,7492,552,09141%
สหรัฐ4,355,0003116,708[32]205,690322,3987%
รวม42,244,4095,741,38912,925,83318,744,54749%

การยอมแพ้ส่วนน้อย

ธงชื่อวันยอมแพ้สนธิสัญญา
เบลเยียม31 ตุลาคม 1914ไม่มี
เซอร์เบีย23 กันยายน 1915ไม่มี
มอนเตเนโกร17 มกราคม 1916ไม่มี
รัสเซียโซเวียต3 มีนาคม 1918สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์
โรมาเนีย7 พฤษภาคม 1918สนธิสัญญาบูคาเรสต์

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถ

อ้างอิง

  • ^1 The War Office (2006) [1922]. Statistics of the military effort of the British Empire during the Great War 1914—1920. Uckfield, East Sussex: Military and Naval Press. ISBN 1-84734-681-2. OCLC 137236769.
  • ^2 Gilbert Martin (1994). Atlas of World War I. Oxford University Press. ISBN 0-19-521077-8. OCLC 233987354.
  • ^3 Tucker Spencer C (1999). The European Powers in the First World War: An Encyclopedia. New York: Garland. ISBN 0-8153-3351-X.
  • ^4 The Commonwealth War Graves Commission. "Annual Report 2005-2006" (PDF).
  • ^5 The Commonwealth War Graves Commission. "Debt of Honour Register".
  • ^6 Urlanis, Boris (2003) [1971, Moscow]. Wars and Population. Honolulu: University Press of the Pacific. OCLC 123124938.
  • ^7 Huber Michel (1931). La population de la France pendant la guerre, avec un appendice sur Les revenus avant et après la guerre (ภาษาฝรั่งเศส). Paris. OCLC 4226464.
  • ^8 Bujac Jean Léopold Emile (1930). Les campagnes de l'armèe Hellènique 1918–1922 (ภาษาฝรั่งเศส). Paris: Charles-Lavauzelle. OCLC 10808602.
  • ^9 Mortara Giorgio (1925). La Salute pubblica in Italia durante e dopo la Guerra (ภาษาอิตาลี). New Haven, Connecticut: Yale University Press. OCLC 2099099.
  • ^10 Harries Merion, Harries Susie (1991). Soldiers of the Sun – The Rise and Fall of the Imperial Japanese Army. Random House. ISBN 0-679-75303-6. OCLC 32615324.
  • ^11 Clodfelter Michael (2002). Warfare and Armed Conflicts : A Statistical Reference to Casualty and Other Figures, 1500–2000 (2nd ed.). London: McFarland. ISBN 0-7864-1204-6. OCLC 48066096.
🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง