เครือรัฐเอกราช

เครือรัฐเอกราช (อังกฤษ: Commonwealth of Independent States หรือ CIS; รัสเซีย: Содружество Независимых Государств หรือ СНГ) เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่ตั้งขึ้นหลังจากที่สหภาพโซเวียตล่มสลายลง โดยมีประเทศสมาชิกเป็นประเทศที่ประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียต (ยกเว้นกลุ่มประเทศบอลติก)

เครือรัฐเอกราช

Содружество Независимых Государств (รัสเซีย)
ธงชาติเครือรัฐเอกราช
ธงชาติ
ตราของเครือรัฐเอกราช
ตรา
      รัฐสมาชิก       ดินแดนพิพาท[1]       รัฐสมาชิกร่วม
      รัฐสมาชิก
      ดินแดนพิพาท[1]

      รัฐสมาชิกร่วม
ศูนย์กลางบริหาร
เมืองใหญ่สุดมอสโก
ภาษาราชการรัสเซีย
ภาษาชนกลุ่มน้อย
ประเภทระหว่างรัฐบาล
สมาชิก9 รัฐสมาชิก
1 รัฐสมาชิกร่วม
1 รัฐสังเกตการณ์
ผู้นำ
• เลขาธิการฝ่ายบริหาร
เซอร์เกย์ เลเบเดฟ
• ประธาน
วาเลนตินา มัตวิเยนโก
• หัวหน้า
คาซัคสถาน
สภานิติบัญญัติInterparliamentary Assembly[3]
ก่อตั้ง
• ข้อตกลงเบโลเวจ
8 ธันวาคม 1991
• พิธีสารอัลมา-อาตา
21 ธันวาคม 1991
• ประกาศใช้กฎบัตร
22 มกราคม 1993
• เขตการค้าเสรี
20 กันยายน 2012
พื้นที่
• รวม
20,368,759[4] ตารางกิโลเมตร (7,864,422 ตารางไมล์)
ประชากร
• 2018 ประมาณ
เพิ่มขึ้น 236,446,000 (ไม่รวมไครเมีย)
11.77 ต่อตารางกิโลเมตร (30.5 ต่อตารางไมล์)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2018 (ประมาณ)
• รวม
5.378 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
22,745 ดอลลาร์สหรัฐ
จีดีพี (ราคาตลาด) 2020 (ประมาณ)
• รวม
1.828 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
7,732 ดอลลาร์สหรัฐ
เอชดีไอ (2017)0.740
สูง
สกุลเงินไม่มีสกุลเงินทั่วไปa
9 ประเทศสมาชิก
  • ดรัมอาร์มีเนีย (֏)
  • มานัตอาเซอร์ไบจาน (₼)
  • รูเบิลเบลารุส (Rbl)
  • เท็งเกคาซัคสถาน (₸)
  • ซอมคีร์กีซสถาน (⃀)
  • เลวูมอลโดวา (Leu/Lei)
  • รูเบิลรัสเซีย (₽)
  • โซโมนีทาจิกิสถาน (SM)
  • ซอมอุซเบกิสถาน (soum)
1 รัฐที่เกี่ยวข้อง
เขตเวลาUTC+2 ถึง +12
ขับรถด้านขวามือ
โดเมนบนสุด.ru, .by, .am, .kz, .kg, .az, .md, .tj, .uz
เว็บไซต์
e-cis.info
a รูเบิลโซเวียตใน ค.ศ. 1991 ถึง 1994

ประเทศสมาชิก

สมาชิกปัจจุบัน
ประเทศ[5]ข้อตกลง/สัตยาบันกฎบัตรให้สัตยาบันหมายเหตุ
 อาร์มีเนีย18 ก.พ. 199216 มี.ค. 1994สมาชิกผู้ก่อตั้ง
 อาเซอร์ไบจาน24 ก.ย. 199324 ก.ย. 1993
 เบลารุส10 ธ.ค. 199118 ม.ค. 1994สมาชิกผู้ก่อตั้ง
 คาซัคสถาน23 ธ.ค. 199120 เม.ย. 1994สมาชิกผู้ก่อตั้ง
 คีร์กีซสถาน6 มี.ค. 199212 เม.ย. 1994สมาชิกผู้ก่อตั้ง
 มอลโดวา8 เม.ย. 199415 เม.ย. 1994
 รัสเซีย12 ธ.ค. 199120 ก.ค. 1993สมาชิกผู้ก่อตั้ง
 ทาจิกิสถาน26 มิ.ย. 19934 ส.ค. 1993
 อุซเบกิสถาน4 ม.ค. 19929 ก.พ. 1994สมาชิกผู้ก่อตั้ง
ผู้ให้สัตยาบันข้อตกลงการก่อตั้ง
ประเทศ[5]ข้อตกลง/สัตยาบันกฎบัตรให้สัตยาบันหมายเหตุ
 เติร์กเมนิสถาน26 ธ.ค. 1991ไม่ได้ให้สัตยาบัน"สมาชิกผู้ก่อตั้ง" ไม่เคยเป็นสมาชิกเต็มรูปแบบ เป็น "รัฐภาคี" ตั้งแต่ปี 2005
 ยูเครน10 ธ.ค. 1991ไม่ได้ให้สัตยาบัน"สมาชิกผู้ก่อตั้ง" ไม่เคยเป็นสมาชิกเต็มรูปแบบ เป็น "รัฐภาคี" ตั้งแต่ปี 1994 ถึง 2018[6] ส่วนใหญ่ไม่เข้าร่วมในเครือรัฐเอกราช ตั้งแต่ปี 2014 และถอนตัวแทนออกจากหน่วยงานตามกฎหมายทั้งหมดของเครือรัฐเอกราช ในปี 2018 อันเป็นผลมาจากสงครามรัสเซีย–ยูเครน[7]
รัฐสังเกตการณ์
ประเทศได้รับสถานะผู้สังเกตการณ์กฎบัตรให้สัตยาบันหมายเหตุ
สาธารณรัฐอิสลามอัฟกานิสถาน2006ไม่ได้ให้สัตยาบันเข้าร่วมเป็นรัฐผู้สังเกตการณ์ในปี 2006[8] สถานะที่เป็นปัญหาตั้งแต่การยึดอัฟกานิสถานโดยกลุ่มตอลิบานในเดือนสิงหาคม 2021
 มองโกเลีย2008ไม่ได้ให้สัตยาบัน[2]
อดีตสมาชิก
ประเทศข้อตกลง/สัตยาบันกฎบัตรให้สัตยาบันลาออกมีผลหมายเหตุ
 จอร์เจีย3 ธ.ค. 199319 เม.ย. 199418 ส.ค. 200818 ส.ค. 2009ลาออกในช่วงสงครามรัสเซีย-จอร์เจีย ปี 2008

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

🔥 Top keywords: วชิรวิชญ์ ไพศาลกุลวงศ์หน้าหลักองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทยยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกชนกันต์ อาพรสุทธินันธ์สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ซิตีพิเศษ:ค้นหาดวงใจเทวพรหม (ละครโทรทัศน์)กรงกรรมอสมทลิซ่า (แร็ปเปอร์)จีรนันท์ มะโนแจ่มสโมสรฟุตบอลอาร์เซนอลสโมสรฟุตบอลเรอัลมาดริดธี่หยดฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024เฟซบุ๊กสโมสรฟุตบอลบาร์เซโลนาประเทศไทยเอเชียนคัพ รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2024วิทยุเสียงอเมริกาสโมสรฟุตบอลลิเวอร์พูลพระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท)พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรักวุ่น วัยรุ่นแสบวันไหลนริลญา กุลมงคลเพชรสโมสรฟุตบอลเชลซีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีหลานม่าสุภาพบุรุษจุฑาเทพ (ละครโทรทัศน์)สโมสรฟุตบอลไบเอิร์นมิวนิกกรุงเทพมหานครสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดคิม ซู-ฮย็อนภาวะโลกร้อนสาธุ (ละครโทรทัศน์)รายชื่ออักษรย่อของจังหวัดในประเทศไทยสโมสรฟุตบอลปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง